Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดำเนินชีวิต และการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาอสิลาม - Coggle Diagram
การดำเนินชีวิต และการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาอสิลาม
ประวัติของศาสนาอิสราม
ศาสนาอิสลามมีต้นกำเนิดที่ประเทศซาอุดิอาราเบีย
ผู้นับถือมากเป็นอับสอง รองจาก ศาสนาคริสต์
อิสลามแปลว่า การยอมจำนน การปฏิบัติตาม และการนอบน้อม
ศาสดาของศาสนาอิสลาม คือ นบีมูฮัมหมัด
พระคัมภีร์ของศาสนาอิสลาม คือ อัลกุรอาน
ผู้นับถือศาสนาอิสลาม คือ มุสลิม เป็นภาษาอาหรับ แปลว่า ผู้ที่นอบน้อม ยอมจำนนต่อข้อบัญญัติพระอัลลอฮ์
ศาสนาสถานของชาวมุสลิมคือ มัสยิดหรือสุเหร่า
สัญญลักษณ์ของศาสนาอิสลาม รูปพระจันทร์ครึ่งเสี้ยวและดาวอยู่ข้างบน
ดาว
เครื่องนำหมายนำทาง
บอกทิศเมื่อมนุษย์ต้องเดินทางกลางทะเล
เครื่องหมายบอกทิศทางในการเดินทาง
เดือนครึ่งเสี้ยว
เครื่องหมายของกาลเวลา
เดือนส่งผลถึงระดับนำขึ้นลงที่แตกต่างกัน
การกำหนดเวลาเริ่มต้นของเดือนใหม่และสิ้นสุดเดือนเก่า
เวลาที่ผ่านไปที่มนุษย์ต้องใคร่ครวญถึงการกระทำของตนเอง
คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศ
เป็นคณะผู้บริหารกิจการศาสนาอิสลามในประเทศไทย
ใช้อำนาจตามพระราชบัญญัติการบริหารองค์กรอิสลาม
ประกอบด้วยจุฬาราชมนตรีเป็นประธานกรรมการ และกรรมการ
ผู้แทนคณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัด จังหวัดละหนึ่งคน
นิกาย
นิกายซุนนี(Sunni)
ซันนีแปลว่ามรรคาหรือจารีต
มีผู้นับถือ75-90%
เป็นพวกออร์ธอดอกซ์ของอิสลาม
นิกายนี้ใช้หมวกสีขาวเป็นสัญลักษณ์และนิกายที่มีผู้นับถือมากที่สุดประมาณ700ล้านคน
ส่วนมากมีอยู่ในประเทศสาธารณรัฐตรุกี
นิกายชีอะฮ์ หรือ ซิเอฮ์(Shiah)
ชีอะฮ์หรือชิเอฮ์แปลว่าผู้ปฏิบัติตาม หรือ สาวก
แยกออกมาจากนิกายซุนนี
เชื่อกันว่าอิหม่าม หมายถึง หัวหน้าสุเหร่าหรือมัสยิดซึ่งเป็นผู้สืบต่อศาสนาจากนบีมุฮัมมัด
อิหม่ามเป็นผู้หมดมลทินจากบาปและสื่อกลางการติดต่อระหว่างมนุษย์กับพระเจ้า
นิกายชีอะฮ์มีผู้นับถือมากที่สุดในประเทศอิหร่าน
หลักกการอันเป็นข้อบังคับ สำหรับมุสลิมทุกคนจะต้องรู้ จะต้องประพฤติ
1.หลักศรัทธา ความเชื่อในศาสนา
2.หลักปฏิบัติหน้าที่ในศาสนา (อิบาดะห์)
3.หลักคุณธรรม(อิห์ซาน)
4.ทุกคนต้องเรียนรู้หลักการของศาสนาอิสลาม ไม่มีข้อยกเว้นเป็นหน้าที่พึ่งปฏิบัติ
หลักศรัทธาของศาสนาอิสลาม
ศรัทธาในพระเจ้าเป็นฐาน ต้องเชื่อมั่นและศรัทธาในพระเจ้า
ศรัทธาในมลาอิกะฮ์ คือบ่าวผู้สัตย์ซื่อของพระอัลลอฮ์ไม่มีรูปกายไม่มีเพศ ไม่มีการดำเนินชีวิตเหมือนมนุษย์เป็นสื่อกลางระหว่างพระอัลลอฮ์กับมนุษย์
ศรัทธาในบรรดาศาสนทูตหรือศาสดาซึ่งมี 258 ท่านที่ระบุไว้ในพระคัมภีร์อัลกุรอาน
ศรัทธาในพระคัมภีร์อัลกุรอานและมีคัมภีร์อื่นๆ
ศรัทธาในวันกียามะฮ์หรือ วันปรโลก วันคืนชีพ หลังจากวันสิ้นโลก มนุษย์ทุกคนรอวันตัดสินช าระความ
ศรัทธาในการลิขิตขององค์พระผู้เป็นเจ้า
หลักปฏิบัติหน้าที่ในศาสนา เรียกว่า อิบาดะห์
การปฏิญาณตนเข้ารับนับถือศาสนา
การละหมาด หรือ สวด
การถือศีลอด
การบริจาคศาสนทานซะกาต
การประกอบพิธีฮัจญ์
การละหมาด หรือ สวด
เวลาย่ามรุ่ง
เวลากลางวัน
เวลาเย็น
เวลาพลบค่า
เวลากลางคืน
การถือศีลอด
เป็นการฝึกฝนให้ตัวเองมีจิตผูกพันและยาเกรงต่อพระเจ้าเพื่อการดาเนินชีวิตในทุกด้านตามคาบัญชาของพระองค์
เป็นการอดอาหารการดื่มกินและเว้นการร่วมประเวณีและการทาชั่วต่างๆอย่างเคร่งครัดเป็นพิเศษในช่วงถือศีลอด
มุสลิมทุกคนควรจะไรด้ถือปฏิบัติกันโดยเคร่งครัด (ยกเว้นผู้ป่วย/ มีประจ าเดือน / สตรีมีครรภ์
การบริจาคศาสนาทาน
การบริจาคซะกาต (การจ่ายภาษีทางศาสนาแก่คนยากจน) คือ การจ่ายทรัพย์สินส่วนเกินจานวนหนึ่งที่มุสลิมต้องจ่ายให้แก่ผู้มีสิทธิ์ไรด้รับเมื่อครบปี
เพื่อผดุงสังคมลดปัญหาช่องว่างระหว่างคนรวยและคนจน
เป็นหน้าที่ของมุสลิมทุกคนถ้ามุสลิมคนใดมีทรัพย์สินเงินทองหรือสินแร่ที่เหลือใช้ในรอบปีแล้วไรม่ทาการบริจาคผู้นั้นเป็นบุคคลหนึ่งที่ทาผิดบทบัญญัติของอิสลาม
ผู้มีสิทธิรับซะกาต 8 ประเภทคือผู้ขัดสน(คนยากจนแม่หม้าย เด็กพร้า) คนเข็ญใจ (พิการ) ผู้เข้าอิสลามและถูกญาติมิตรตัดขาดผู้มีหนี้สินล้นตัว
แนวคิดส าคัญ:ความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพโดยทั่วไป
ห้ามทาแท้งการทาแท้งจะทาไรด้ในกรณีจาเป็นที่ต้องรักษาชีวิตของแม่
การขลิบอวัยวะเพศชายเป็นเรื่องที่แนะนาให้ปฏิบัติ
การช่วยให้ฆ่าตัวตายหรือการุนฆาตเป็นเรื่องต้องห้าม
การช่วยผู้ป่วยระยะสุดท้ายในการใส่เครื่องช่วยหายใจโดยผู้ป่วยมีภาวะเป็นผักเป็นเรื่องที่ไรม่สนับสนุนให้ทำ
ารผ่าศพชันสูตรเป็นสิ่งที่ต้องห้ามยกเว้นเป็นข้อบังคับทางกฎหมาย
หลังคลอดจะมีการขอรกเอาไปฝังต้องแจ้งให้ทราบ
การให้บริการทางการแพทย์และพยาบาล
จากัดการสบตาไรม่จ้องผู้ป่วยมากเกินไป
ผู้หญิงมุสลิมจะใส่เสื้อผ้าที่มีการปกคลุมร่างกายหากต้องการตรวจควรมีเสื้อคลุมที่ยาวสามารถปกผิดร่างกายไรด้ทั่ว หากไรม่สามารถจัดหาให้ไรด้ควรจะอนุญาตให้ใส่เสื้อผ้าของตนเองได้
มุสลิมไรม่ไรด้ห้ามการไรด้รับบริการสุขภาพจากเพศตรงข้าม
ผู้ให้บริการควรเป็นเพศเดียวกับผู้ป่วย
มีความจำเป็นต้องให้บริการจากผู้รักษาเพศตรงข้าม เช่น แพทย์เป็นผู้ชายควรให้สามีของผู้ป่วยเข้าไรปด้วยหรือเป็นผู้หญิงที่ผู้ป่วยอนุญาตให้เข้าไปได้
การดูแลเรื่องอาหาร
การดูแลอาหารเป็นอาหาร ฮาลาลไม่มีหมูไม่มีแอลกอฮอล์•การอดอาหารจะทำปีละครั้งช่วงเดือนรอมฎอนยกเว้นผู้ป่วยและหญิงตั้งครรภ์
มุสลิมจะล้างมือก่อนและหลังรับประทานอาหารควรมีการเตรียมสถานที่
มุสลิมจะใช้มือขวาในการจับอาหารและเครื่องดื่มในการประทานหากผู้ดูแลสัมผัสอาหารควรใช้มือขวา
การดูแลผู้ป่วย
การดูแลทางจิตวิญญาณ
จัดสถานที่ละหมาด
มีสถานที่ล้างเท้าก่อนทาพิธีหรือจัดทาอ่างน้าสาหรับอาบเพื่อทาการสวดทางศาสนา
การสวดมนต์จะทำวันละ5ครั้ง
ผู้มีข้อจำกัดด้านสติปัญญาผู้หญิงหลังคลอดและผู้หญิงที่มีประจำเดือนจะเป็นข้อยกเว้น การสวดมนต์จะหันหน้าไรปทางเมืองเมกกะ
ควรเอาสิ่งที่เป็นสัญลักษณ์ทางศาสนาอื่นออกจากห้องผู้ป่วย
การดูแลผู้ป่วยระสุดท้าย
การให้การดูแลในทุกด้านของผู้ป่วยที่กาลังใจเจ็บป่วยจากพยาธิสภาพที่กาลังลุกลามและไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้
เป็นการดูแลรักษาอย่างเต็มที่ด้วยความรักความเมตตาเพื่อลดความทุกข์ทรมานและเพิ่มคุณภาพชีวิตที่ยังเหลืออยู่ให้แก่ผู้ป่วยมีการดูแลอย่างต่อเนื่อง
เป้าหมายการดูแลได้
ลดความเจ็บปวดและอาการไรม่สบายต่างๆ
ยอมรับเรื่องการมีชีวิตและการตายตามบริบทของศาสนาและวัฒนธรรม
บูรณาการมิติทางสังคมจิตใจและจิตวิญญาณ
ให้การสนับสนุนและช่วยเหลือญาติ
มีการทางานเป็นทีมเพื่อการดูแลผู้ป่วยและญาติอย่างมีคุณภาพ
การดูแลผู้ป่วยในระยะสุดท้ายของชีวิตชาวมุสลิม
สลิมต้องยอมรับการเจ็บป่วยว่าเป็นสิ่งที่พระอัลลอฮ์กาหนดมาให้และต้องแสวงหาวิธีการรักษา การเจ็บป่วยเป็นสิทธิของพระอัลลอฮ์เพียงผู้เดียวเท่านั้น
ผู้ป่วยต้องอดทนต่อการเจ็บป่วยการเจ็บป่วยย่อมได้รับการลดบาปและได้กุศล
ผู้ป่วยต้องเอามือตนเองวางบนส่วนที่ตนเจ็บแล้วให้การละหมาดหรือขอพรจากอัลลอฮ์
การขอพรจากพระอัลลอฮ์พร้อมจับมือผู้ป่วยหรือสัมผัสปลอบโยนให้ผู้ป่วยมีอายุที่ยืนยาวและลดความทุกข์จากการเจ็บป่วยการขอพรเป็นสิ่งที่ควรกระทาเพื่อให้ผู้ป่วยลดความทุกข์ทรมาน
การส่งเสริมกาลังใจตักเตือนให้เขาระลึกถึงความอดทนทาให้เขารู้สึกอบอุ่นและเชื่อมั่นว่าจะหายป่วย
ต้องไม่ตั้งข้อรังเกียจเดียดฉันท์ผู้ป่วยและไรม่แสดงท่าทีรังเกียจญาติต้องมีการดูแลอย่างใกล้ชิดไม่ทอดทิ้งผู้ป่วยถ้าไรม่ดูแลถือว่าเป็นการกระทาที่สังคมรังเกียจ
การตายหรือการเสียชีวิต
การอุทิศศพเมื่อผู้ตายสั่งเสียมอบร่างกายศพหรือบริจาคอวัยวะ
ผู้สั่งเสียต้องเป็นบุคคลที่มีคุณสมบัติครบ
บรรลุนิติภาวะ
มีสติสัมปชัญญะจริงจัง
ยินยอมในการบริจาคอวัยวะ
คำสั่งเสียบริจาคนั้นต้องเป็นลายลักษณ์อักษร
จุดประสงค์ในการถ่ายอวัยวะนั้นเพราะความจาเป็นทางการแพทย์
จุดประสงค์ต้องไรม่ใช่เพื่อการค้าแสวงหากาไรรแลกเปลี่ยนหรือเพื่อให้ไรด้มาซึ่งสิทธิพิเศษ
อวัยวะที่ผู้สั่งเสียได้แสดงเจตนาบริจาคนั้นต้องไรม่ใช่ส่วนที่ค้านกับหลักการและคำสอน
คาดการณ์ไรด้ว่าการผ่าตัดถ่ายอวัยวะจากผู้ตายที่ไรด้สั่งเสียไว้ไรปสู่ผู้ที่ยังมีชีวิตจะต้องประสบผลค่อนข้างสูง
ดำเนินการตามคาสั่งเสียไรด้ก็เมื่อผู้สั่งเสียตายเท่านั้น
พิธีศพ
มุสลิมที่จะต้องไรปเยี่ยมเยียนและช่วยเหลือโดยไรม่ต้องรอรับคำเชิญหรือการ์ดเชิญ
ให้แต่งกายธรรมดาไม่ต้องแต่งชุดดำ เพราะไม่มีการไว้ทุกข์ และการไปบ้านผู้ตายจะต้องไม่ไปเป็นภาระแก่เจ้าของบ้านโดยไปรับประทานอาหารหรือแม้แต่น้ำ
ห้รีบไรปส่งผู้ตายหรือศพยังสุสานและให้รีบละหมาด(บทสวดสาหรับผู้เสียชีวิต
ก่อนนาไปฝังจะต้องนาไปยังมัสยิดเพื่อละหมาดให้ผู้ตายและอวยพรขอพรให้แก่ผู้ตาย
เมื่อเสร็จจากการละหมาดแล้วจึงนาผู้ตายไรปฝังยังหลุมที่ขุดเตรียมไรว้ในท่านอน
ต้องจัดการฝังให้เรียบร้อยภายใน 24 ชั่วโมง