Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาอิสลาม - Coggle Diagram
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาอิสลาม
ความรู้ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามมีต้นกำเนิดที่ประเทศซาอุดิอาราเบีย
มีผู้นับถือมากเป็นอับสองรองจาก ศาสนาคริสต์
การยอมจำนน การปฏิบัติตาม และการนอบน้อม
ศาสดาของศาสนาอิสลามคือนบีมูฮัมหมัด
พระคัมภีร์ของศาสนาอิสลาม คือ อัลกุรอาน
ผู้นับถือศาสนาอิสลามคือมุสลิม แปลว่าผู้ที่นอบน้อมยอมจำนนนต่อข้อบัญญัติพระอัลลอฮ์
ศาสนสถานของชาวมุสลิมคือ มัสยิด หรือ สุเหร่า เป็นที่ปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนา เป็นโรงเรียนเป็นที่พบปะชุมนุมทำบุญเลี้ยงฉลองจัดพิธีมงคลสมรสสถานที่พักพิงของผู้ไรร้ที่พำนัก
สัญญลักษณ์ของศาสนาอิสลาม
รูปพระจันทร์ครึ่งเสี้ยวและดาวอยู่ข้างบน
ดาวคือเครื่องหมายนาทางบอกทิศเมื่อมนุษย์ต้องเดินทางกลางทะเล หรือทะเลทราย
เดือนครึ่งเสี้ยวคือเครื่องหมายของกาลเวลาเดือนคือเวลาที่ผ่านไรไปที่มนุษย์ต้องใคร่ครวญถึงการกระท ำของตนเอง สัญลักษณ์รูปเดือนครึ่งเสี้ยวสาคัญที่สุดจะเป็นศิริมงคลที่สุดของมุสลิมคือในเดือนรอมฎอน
เป็นสิ่งเตือนใจและเป็นสิ่งสำคัญในการใช้ชีวิตของมนุษย์ชาติมุสลิม
คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย
เป็นคณะผู้บริหารกิจการศาสนาอิสลามในประเทศไทย
ใช้อำนาจตามพระราชบัญญัติการบริหารองค์กรศาสนาอิสลาม พ.ศ. 2540ซึ่งระบุให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่าคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย
ประกอบด้วยจุฬาราชมนตรีเป็นประธานกรรมการ และกรรมการ
แต่งตั้งจากกรรมการอิสลามประจาจังหวัดซึ่งเป็นผู้แทนคณะกรรมการอิสลามประจาจังหวัดจังหวัดละหนึ่งคน
นิกายของศาสนาอิสลาม
นิกายซุนนี(Sunni) มีผู้นับถือ75-90%
เป็นนิกายของศาสนาอิสลามที่นับถือคัมภีร์เล่มหนึ่งชื่อ”
ซุมนาเป็นคัมภีร์อรรถกถาของคัมภีร์อัลกุรอาน
ผู้นับถือคัมภีร์นี้เป็นผู้ที่เคร่งครัด
เป็นพวกออร์ธอดอกซ์ของอิสลาม และไม่ชอบให้ใครมาเปลี่ยนแปลงคาสอนที่มีอยู่เดิมในคัมภีร
ใช้หมวกสีขาวเป็นสัญลักษณ์และเป็นนิกายที่มีผู้นับถือมากที่สุดประมาณ700 ล้านคน ถือว่าเป็นนิกายดั้งเดิม
อยู่ในประเทศสาธารณรัฐตุรกีซาอุดิอาระเบียแอฟริกา และชาวมุสลิมส่วนใหญ่ในอินโดนีเซีย มาเลเซีย และประเทศไทย
นิกายชีอะฮ์หรือชิเอฮ์(Shiah) มีผู้นับถือ10-20%
ชีอะฮ์หรือชิเอฮ์แปลว่าผู้ปฏิบัติตามหรือสาวก
อิหม่าม หมายถึง หัวหน้าสุเหร่าหรือมัสยิด ซึ่งเป็นผู้สืบต่อศาสนาจากนบีมุฮัมมัด
พวกชีอะฮ์ถือว่าต่อจากกาหลิบอะลีมาแล้ว
อิหม่ามเป็นผู้หมดมลทินจากบาปและเป็นสื่อกลางการติดต่อระหว่างมนุษย์กับพระเจ้า
มีผู้นับถือมากที่สุดในประเทศอิหร่าน อิรัก อินเดีย อัฟกานิสถาน และซีเรีย
หลักการอันเป็นข้อบังคับสาหรับมุสลิมทุกคน
เริ่มตั้งแต่อายุ3ขวบเป็นต้นไป
หลักศรัทธาความเชื่อในศาสนา
ศรัทธาในพระเจ้าเป็นฐาน ต้องเชื่อมั่นและศรัทธาในพระเจ้า คือ พระอัลลอฮ์
พระเจ้าทรงเป็นผู้อยู่ก่อนสรรพสิ่งทั้งปวง
ศรัทธาในมลาอิกะฮ์ คือบ่าวผู้สัตย์ซื่อของพระอัลลอฮ์ไม่มีรูปกายไม่มีเพศ ไม่มีการดำเนินชีวิตเหมือนมนุษย์เป็นสื่อกลางระหว่างพระอัลลอฮ์กับมนุษย์
ศรัทธาในบรรดาศาสนทูตหรือศาสดาซึ่งมี 258 ท่านที่ระบุไว้ในพระคัมภีร์
ศรัทธาในพระคัมภีร์อัลกุรอาน
ศรัทธาในวันกียามะฮ์ วันคืนชีพ มนุษย์ทุกคนรอวันตัดสินชำระความ
ศรัทธาในการลิขิตขององค์พระผู้เป็นเจ้า
หลักปฏิบัติหน้าที่ในศาสนา(อิบาดะห์)
การปฏิญาณตนเข้ารับนับถือศาสนาอิสลาม
การละหมาด หรือ สวด (นมาซ หรือ นมัสการ) 5เวลาต่อวัน
เวลาย่ารุ่ง
เวลากลางวัน
เวลาเย็น
เวลาพบค่ำ
เวลากลางคืน
การถือศีลอด
เป็นการฝึกฝนให้ตัวเองมีจิตผูกพันและยำเกรงต่อพระเจ้า
เป็นการอดอาหารในช่วงเวลาที่ถูกกำหนดไรว้อย่างตายตัวนั้นจะทำให้ร่างกายได้ละลายส่วนเกินของไรขมันที่สะสมเอาไว้
เป็นการเพิ่มพูนภูมิต้านทานแก่ร่างกายทาให้ร่างกายเคยชินกับความหิว
การรับประทานอาหารตรงตามเวลาใน 24 ชั่วโมง
จะรับประทานอาหารสองมื้อคือมื้อตอนดึกถึงก่อนฟ้ารุ่งสาง
และมื้อค่ำตอนเมื่ออาทิตย์ลับขอบฟ้า
ทำให้เกิดการประหยัดทั้งอาหารของโลกและสิ่งฟุ่มเฟือยสิ่งต่างๆ
การบริจาคศาสนทานซะกาต
การประกอบพิธีฮัจญ์
หลักคุณธรรม (อิห์ซาน)
มุสลิมทุกคนจะต้องยึดถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัดในการดำเนินวิถีชีวิต
ฮาลาล Halal คือการกระทำที่อนุญาต
ฮารอม Haromคือการกระทาที่ต้องห้ามการแต่งกาย การปกปิดส่วนควรสงวนของร่างกาย
ทุกคนต้องเรียนรู้หลักการของศาสนาอิสลามไม่มีขอยกเว้นเป็นหน้าที่พึงปฏิบัติ
พิธีสุหนัต
เด็กชายมุสลิมอายุระหว่าง 2-10 ขวบ จะต้องได้รับพิธีสุหนัต
การตัดหนังหุ้มปลายองคชาต เพื่อประโยชน์สำหรับการแต่งงาน
จะมีการเชิญญาติพี่น้องอย่างน้อย2-3 คน มาร่วมเป็นสักขีพยาน
ปัจจุบันนี้เมื่อไรปคลอดที่โรงพยาบาลอาจจะให้แพทย์ที่ทาคลอดทารกเพศชายตัดหนังหุ้มปลายองคชาตของทารกนั้นเป็นการทาพิธีสุหนัต
พิธีถือศีลอด
เป็นพิธีกรรมอย่างหนึ่งที่ชาวมุสลิมปฏิบัติในเดือนรอมฎอนตลอด 1เดือน
เป็นการอดอาหารการดื่มกินและเว้นการร่วมประเวณีอย่างเคร่งครัดเป็นพิเศษในช่วงถือศีลอด
งดการกินและการดื่ม
งดการมีเพศสัมพันธ์
งดการใช้วัตถุภายนอกเข้าไปในอวัยวะภายใน
งดการแสดงอารมณ์ร้ายและความผิดต่างๆ
ทุกคนควรจะได้ถือปฏิบัติกันโดยเคร่งครัด (ยกเว้นผู้ป่วยมีประจำเดือน สตรีมีครรภ์)
คนชรา
คนป่วยหรือสุขภาพไม่ดี
หญิงที่มีครรภ์ที่เกรงว่าจะเป็นอันตรายแก่บุตร
บุคคลที่ทางานหนัก
บุคคลที่อยู่ในระหว่างเดินทาง
หญิงขณะมีรอบเดือนและหลังคลอด
การบริจาคศาสนทาน “ซะกาต”
การจ่ายทรัพย์สินส่วนเกินจานวนหนึ่งที่มุสลิมต้องจ่ายให้แก่ผู้มีสิทธิ์ไรด้รับเมื่อครบปี
เพื่อผดุงสังคมลดปัญหาช่องว่างระหว่างคนรวยและคนจน
ผู้มีสิทธิรับซะกาต
ผู้ขัดสน คนเข็ญใจ (พิการ) ผู้มีหนี้สินล้นตัว ทาสหรือเชลยเจ้าหน้าที่ดูแลกองทุนซะกาต ผู้พลัดถิ่น(ไรม่สามารถกลับสู่ภูมิลาเนาเดิม)
วัตถุประสงค์ของการบริจาคซะกาต
เพื่อชำระจิตใจของผู้บริจาคให้บริสุทธิ์ไม่ตกเป็นทาสแห่งวัตถุด้วยความโลภ และเห็นแก่ตัว
เพื่อปลูกฝังให้มุสลิมทั้งหลายเป็นผู้มีจิตใจเมตตากรุณาเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ซึ่งกันและกัน
เพื่อลดช่องว่างระหว่างชนชั้นในสังคมด้วยวิธีการสังคมสงเคราะห์
พิธีฮัจญ์
ชาวมุสลิมผู้มีฐานะดี
มีสุขภาพดี
ผู้ชายอายุ15ปี และผู้หญิง19ปี
การเดินทางไปประกอบศาสนกิจ ณ เมืองเมกกะประเทศซาอุดิอาระเบีย
สถานที่ในการประกอบพิธีฮัจญ์มีเพียงแห่งเดียวโลกมุสลิม
ต้องเป็นผู้ที่ประกอบศาสนกิจนอกเหนือจากการละหมาด การถือศีลอด การบริจาคซะกาต
ความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพโดยทั่วไป
ห้ามทำแท้งการทำแท้งจะทำได้ในกรณีจำเป็นที่ต้องรักษาชีวิตของแม่
การขลิบอวัยวะเพศชายเป็นเรื่องที่แนะนำให้ปฏิบัติ
การช่วยให้ฆ่าตัวตายหรือการุนฆาตเป็นเรื่องต้องห้าม
การผ่าศพชันสูตรเป็นสิ่งที่ต้องห้าม....ยกเว้นเป็นข้อบังคับทางกฎหมาย
หลังคลอดจะมีการขอรกเอาไรปฝังต้องแจ้งให้ทราบ หากมีข้อจำกัดไม่สามารถให้นำรกไปได้
การให้บริการทางการแพทย์และพยาบาล
จำกัดการสบตาไม่จ้องผู้ป่วยมากเกินไป
มุสลิมไม่ได้ห้ามการได้รับบริการสุขภาพจากเพศตรงข้ามถ้ามีความจำเป็นแพทย์เป็นเพศเดียวกันหรือควรให้สามีหรือภรรยาของผู้ป่วยเข้าไปด้วย
ผู้ให้บริการควรเป็นเพศเดียวกับผู้ป่วย
การดูแลเรื่องอาหาร
การดูแลอาหารเป็นอาหาร ฮาลาลไรม่มีหมูไรม่มีแอลกอฮอล์
การอดอาหารจะทาปีละครั้งช่วงเดือนรอมฎอนยกเว้นผู้ป่วยและหญิงตั้งครรภ์
จะล้างมือก่อนและหลังรับประทานอาหารควรมีการเตรียมสถานที่
จะใช้มือขวาในการจับอาหารและเครื่องดื่มในการประทานหากผู้ดูแลสัมผัสอาหารควรใช้มือขวา
การดูแลทางจิตวิญญาณ
จัดสถานที่ละหมาด
การสวดมนต์จะทำวันละ5ครั้ง
ควรเอาสิ่งที่เป็นสัญลักษณ์ทางศาสนาอื่นออกจากห้องผู้ป่วย
ผู้หญิงที่มีประจำเดือนจะเป็นข้อยกเว้น การสวดมนต์จะหันหน้าไปทางเมืองเมกกะ
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
การให้การดูแลในทุกด้านของผู้ป่วย โดยมุ่งเน้นเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตทั้งของผู้ป่วยและครอบครัว
เป็นการดูแลรักษาอย่างเต็มที่ด้วยความรักความเมตตาเพื่อลดความทุกข์ทรมานและเพิ่มคุณภาพชีวิตที่ยังเหลืออยู่ให้แก่ผู้ป่วย
เป้าหมายการดูแล
ลดความเจ็บปวดและอาการไรม่สบายต่างๆ
ยอมรับเรื่องการมีชีวิตและการตายตามบริบทของศาสนาและวัฒนธรรม
บูรณาการมิติทางสังคมจิตใจและจิตวิญญาณ
ให้การสนับสนุนและช่วยเหลือญาติ
มีการทำงานเป็นทีมเพื่อการดูแลผู้ป่วยและญาติอย่างมีคุณภาพ
ความเชื่อเกี่ยวกับความตายของมุสลิม
เป็นภาวะที่หลีกเลี่ยงไรม่ไรด้ทุกคนต้องเผชิญและยอมรับเพราะเป็นความประสงค์ของพระอัลเลาะฮ์
ภาวะใกล้ตายเป็นภาวะที่มุสลิมต้องการอยู่ใกล้พระอัลเลาะฮ์มากที่สุด และเป็นการดูแลให้ผู้ป่วยลดความทุกข์ทรมาน
พระผู้เป็นเจ้าทรงเป็นผู้ให้มนุษย์เกิดและให้มนุษย์ตาย
พระเจ้าเป็นผู้ทรงกำหนดอายุขัยของมนุษย์
มนุษย์ไม่สามารถรู้ได้ว่าที่ใดและเมื่อใดเขาจะตาย
มนุษย์ต้องรำลึกถึงความตายให้มาก
ความตายเป็นข่าวดีและสบายใจสาหรับผู้ศรัทธา
การจัดการศพตามวิถีอิสลาม
นำศพมาวางบนผ้าขาวซึ่งปูไว้ 3 ชั้นนำมือทั้งสองไว้ที่ระดับอกให้มือขวาทับบนมือซ้ายแล้วห่อด้วยขาว 3 ชั้น
นำศพไรปบรรจุในหีบศพถ้าหากอยู่ในที่กันดารไรม่ใช้หีบศพก็ได้แต่ให้ทำหลุมเพื่อเตรียมฝัง
เมื่อฝังในที่ใดแล้วห้ามขุดศพนั้นขึ้นมาไรม่ว่าประการใด ๆ
การฝังให้วางศพนอนตะแคงข้างขวา หันหน้าศพไรปทางทิศตะวันตก
ข้อแนะนำในการไปเยี่ยมเคารพศพผู้นับถือศาสนาอิสลาม
กรณีศพอยู่ที่บ้าน
นำศพมาอาบน้าชำระสิ่งสกปรกรดน้าให้สะอาดทั้งตัว
นำศพมาวางบนผ้าขาวซึ่งปูไว้ 3 ชั้นนำมือทั้งสองไว้ที่ระดับอกให้มือขวาทับบนมือซ้ายแล้วห่อด้วยขาว 3 ชั้น
ผู้ไรปเยี่ยมเคารพศพควรไปแสดงไว้อาลัยกับญาติที่มีชีวิตอยู่เป็นการให้เกียรติแก่เจ้าภาพ
ทำความเคารพศพ โดยกล่าวคำไว้อาลัยได้
มอบเงินซองให้เจ้าภาพ
กรณีศพอยู่ที่มัสยิดหรือสุเหร่า
ผู้ร่วมพิธีจะรอเคารพศพก่อนพิธีละหมาด
ผู้ร่วมพิธีมุ่งไปแสดงความเสียใจกับญาติ
พิธีฝังจะเป็นพิธีของญาติ ๆ
มอบเงินซองให้เจ้าภาพ