Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
4.1 การบริหารยากินและยาเฉพาะที่ unnamed (4), ความถี่ในการให้ยา - Coggle…
4.1 การบริหารยากินและยาเฉพาะที่
-
2.ปัจจัยที่มีผลต่อการออกฤทธิ์ของยา
ยาที่ผู้ป่วยได้รับแต่ละคน จะออกฤทธิ์ไม่เท่ำกัน
มีปัจจัยหลายประการที่พยาบาลต้องคำนึงถึง ดังนี้
-
2.2เพศ
ผู้ชายมีขนาดตัวใหญ่กว่าผู้หญิง น้ำหนักย่อมมากกว่า ถ้าได้รับยาขนำดเท่ากัน ยาจะมีปฏิกิริยาต่อผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย
-
-
2.5 ภาวะสุขภำพ
ผู้ป่วยที่เป็นโรคหรือมีอาการป่วย เมื่อได้รับยาจะมีผลต่อการแสดงออกของฤทธิ์ยาต่างจากคนปกติ
-
-
-
3. ระบบการตวงวัดยา
-
-
3.3 ระบบมาตราตวงวัดประจำบ้าน
มีหน่วยที่ใช้เป็น หยด ช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยชา และถ้วยแก้ว
-
-
-
-
-
-
-
-
5. คำสั่งแพทย์ คำนวณขนาดยา
5.1 คำสั่งแพทย์
การให้ยาแก่ผู้ป่วย แพทย์จะต้องรับผิดชอบในการเขียนคำสั่งการให้ยาเป็นลายลักษณ์อักษร พยาบาลเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดยาเตรียมยาและนำไปให้ผู้ป่วยโดยตรง การเขียนคำสั่งแพทย์มี 4 ชนิดได้แก่
5.1.1 คำสั่งครั้งเดียวใช้ได้ตลอดไป
(Standing order / order for continuous)
เป็นคำสั่งที่สั่งครั้งเดียวและใช้ได้ตลอดไปจนกว่ำจะมีคำสั่งระงับ (discontinue)
5.1.2 คำสั่งใช้ภำยในวันเดียว
(Single order of order for one day) เป็นคำสั่งที่ใช้ได้ใน 1 วัน เมื่อได้ให้ยาไปแล้วเมื่อครบก็ระงับไปได้เลย
-
5.1.4 คำสั่งที่ให้เมื่อจำเป็น (prn order)
เป็นคำสั่งที่กำหนดไว้ให้ปฏิบัติเมื่อผู้ป่วยมีอาการบางอย่างเกิดขึ้น
-
-
5.2 คำนวณขนาดยา
การคำนวณยาเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับยาตามแผนการรักษา
ความเข้มข้นของยา (ในแต่ละส่วน) =
ขนาดความเข้มข้นของยาที่มี/ปริมาณยาที่มี
6. รูปแบบการบริหารยา
ต้องตระหนักถึงหลักกำรบริหารยา (Drug administration) ที่เรียกว่า Six rights ต่อมำได้มีการเพิ่มข้อ 7
1. Right patient/client (ถูกคน)
คือการให้ยาถูกคน หรือถูกตัวผู้ป่วย โดยการเช็คชื่อผู้ป่วยทุกครั้งก่อนให้ยา
-
3. Right dose (ถูกขนาด)
คือการให้ยาถูกขนาด โดยการจัดยาหรือคำนวณยาให้มีขนาดและความเข้มข้นของยาตามคำสั่งการให้ยา
-
-
6. Right technique (ถูกเทคนิค)
คือการให้ยาถูกตามวิธีกำร ใช้เทคนิคที่เหมาะสม โดยการเตรียมยาและให้ยาที่ถูกต้องยึดหลักการปลอดเชื้อสำหรับยารับประทานทางปาก
7. Right documentation (ถูกการบันทึก)
คือการบันทึกการให้ยาที่ถูกต้อง โดยพยาบาลลงนามในเวลาเดียวกับที่ให้ยากับผู้ป่วยในเอกสารที่ได้กำหนดไว้
8. Right to refuse
คือการตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้รับควำมยินยอมจากผู้ป่วยในการจัดการยาผู้ป่วยมีสิทธิที่จะปฏิเสธการใช้ยาหากเขามีความสามารถในการทำเช่นนั้น
9. Right History and assessment
คือการซักประวัติ และการประเมินอาการก่อน หลังให้ยา โดยการสอบถามข้อมูล/ ตรวจสอบประวัติการแพ้ยำของผู้ป่วยทุกครั้งก่อนการให้ยา
10. Right Drug-Drug Interaction and Evaluation
คือการที่จะต้องให้ยาร่วมกัน จะต้องดูก่อนว่ายานั้นสามารถให้ร่วมกันได้ไหม เมื่อให้ร่วมกันจะมีผลทำให้ยาออกฤทธิ์มากขึ้นหรือน้อยลง
11. Right to Education and Information
คือก่อนที่พยาบาลจะให้ยาผู้ป่วยทุกครั้งต้องแจ้งชื่อยาที่จะให้ ทางที่จะให้ยา ผลการรักษา ผลข้ำงเคียงของยาที่อาจจะเกิด และอาการที่ต้องเฝ้าระวัง
หลักสำคัญในการให้ยา
- การให้ยาทางปากใช้หลักสะอาด
- ตรวจสอบคำสั่งแพทย์ก่อนให้ยาทุกครั้ง
หากมีข้อสงสัยให้ตรวจสอบจำกใบสั่งยาทุกครั้ง
- ก่อนให้ยาต้องทราบวัตถุประสงค์การให้ยา
การวินิจฉัยโรค ผลของยาที่ต้องการให้เกิดและฤทธิ์ข้างเคียงของยา
- ตรวจสอบประวัติการแพ้ยา
จากตัวผู้ป่วยและญาติในกรณีที่ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว
-
-
- ไม่ให้ยาที่ฉลากมีการลบเลือนไม่ชัดเจน
- ตรวจสอบผู้ป่วยก่อนให้ยาโดยการถามชื่อและนามสกุลก่อนทุกครั้ง
- บอกให้ผู้ป่วยทราบถึงวัตถุประสงค์ของการให้ยาและผลข้างเคียง
- ต้องให้ผู้ป่วยรับประทานยาต่อหน้าพยาบาล
เพื่อป้องกันผู้ป่วยไม่ได้รับยำ
-