Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาอิสลาม, นายศราวุฒิ …
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
• ศาสนาอิสลามมีต้นเนิดที่ประเทศซาอุดิอาราเบีย
• มีผู้นับถือมากเป็นอับสองรองจากศาสนาคริสต์
• “อิสลาม” แปลว่า การยอมจำนน การปฏิบัติตาม และการนอบน้อม (ต่อพระเจ้าคือ พระอัลลอฮ์)
• ศาสดาของศาสนาอิสลาม คือ นบีมูฮัมหมัด
• พระคัมภีร์ของศาสนาอิสลาม คือ อัลกุรอาน
• ผู้นับถือศาสนาอิสลาม คือ มุสลิม เป็นภาษาอาหรับ แปลว่า ผู้ที่นอบน้อมยอมจำนนนต่อข้อบัญญัติพระอัลลอฮ์
• ศาสนสถานของชาวมุสลิมคือ มัสยิด หรือ สุเหร่า (แปลว่า สถานที่กราบ) เป็นที่ปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนา
เป็นโรงเรียน
พบปะชุมนุมทำบุญเลี้ยงฉลอง
จัดพิธีมงคลสมรส
สัญญลักษณ์ของศาสนาอิสลาม
รูปพระจันทร์ ครึ่งเสียวและดาวอยู่ข้างบน
สองสิ่งนี้เป็นสิ่งเตือนใจและเป็นสิ่งสาคัญในการใช้ชีวิตของมนุษย์ชาติมุสลิมจึงให้ความสำคัญและนำมาเป็นสัญลักษ์ของอิสลาม
• ดาว
คือเครื่องหมายนำทาง บอกทิศเมื่อมนุษย์ ต้องเดินทางกลางทะเล หรือทะเลทราย ชาวอาหรับสมัยก่อนเดินทางตอนกลางคืน กลางวันอากาศกลางทะเลทรายจะร้อนมาก ดาวคอเครื่องหมายบอกทิศทางในการเดินทาง
• เดือน คอเครื่องหมายของกาลเวลา เดือนส่งผลถึงระดับน้ำขึ้นลงที แตกต่างกันเดือนนคอการกำาหนดเวลาเริ่มต้นของเดือนใหม่ และสิ้นสุดเดือนเก่า
คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย
เป็นคณะผู้บริหารกิจการศาสนาอิสลามในประเทศไทย
ใช้อำนาจตามพระราชบัญญัติการบริหารองค์กรศาสนาอิสลาม พ.ศ. 2540 ซึ่งระบุให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่าคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย•ประกอบด้วยจุฬาราชมนตรีเป็นประธานกรรมการและกรรมการ
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งจากกรรมการอิสลามประจำจังหวัดซึ่งเป็นผู้แทนคณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดจังหวัดละหนึ่งคนและจากกรรมการอื่น
ซึ่งคัดเลือกโดยจุฬาราชมนตรีมีจำนวนหนึ่งในสามของจำนวนผู้แทนคณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดมีวาระการดำรงตำแหน่ง 6 ปี สนง. คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย
นิกาย
นิกายชุนนี
มีผู้นับถือ 75-90%
แปลว่ามรรคาหรือจารีตเป็นนิกายของศาสนาอิสลามที่นับถือคัมภีร์เล่มหนึ่งชื่อ "ชุมนาเป็นคัมภีร์อรรถกถาของคัมภีร์อัลกุรอานผู้นับถือคัมภีร์นี้เป็นผู้ที่เคร่งครัดต้องการให้คัมภีร์เดิมอ่านง่ายและเข้าใจง่ายขึ้น
ศาสนาอิสลามธรรมดานิกายนี้ใช้หมวกสีขาวเป็นสัญลักษณ์และเป็นนิกายที่มีผู้นับถือมากที่สุดประมาณ 700 ล้านคนถือว่าเป็นนิกายดังเดิมแล้วส่วนมากมีอยู่ในประเทศสาธารณรัฐตุรกีซาอุดิอาระเบียแอฟริกาและชาวมุสลิมส่วนใหญ่ในอินโดนีเซียมาเลเซียและประเทศไทย
นิกายชีอะฮ์
มีผู้นับถือ 10-20%
แปลว่าผู้ปฏิบัติตามหรือสาวกแยกออกมาจากนิกายซุนนี้พวกชีอะฮ์ถือว่าต่อจากกาหลิบอะลีมาแล้วเชื้อสายของอาลีควรจะได้รับการแต่งตั้ง
นิกายชีอะฮ์มีผู้นับถือมากที่สุดในประเทศอิหร่านอิรักอินเดียอัฟกานิสถานและซีเรีย
หลักการอันเป็นข้อบังคับสำหรับบุคคลจำเป็นสำหรับมุสลิม
ทุกคนจะต้องรู้ต้องประพฤติเริ่มตั้งแต่อายุ 3 ขวบเป็นต้นไปแบ่งออกเป็น 3 ส่วน
หลักศรัทธาความเชื่อในศาสนา
หลักปฏิบัติหน้าที่ในศาสนาเรียกว่าอิบาดะห์
หลักคุณธรรม (อิห์ซาน)
หลักศรัทธาของศาสนาอิสลาม
ศรัทธาในพระเจ้าเป็นฐานต้องเชื่อมั่นและศรัทธาในพระเจ้าคือพระอัลลอย์อย่างไม่มีข้อสงสัยพระเจ้าทรงเป็นอยู่ก่อนสรรพสิ่งทั้งปวงทรงเป็นผู้สร้างทุกสิ่งในเอกภพพระเจ้าสร้างอดัม
ศรัทธาในมลาอิกะฮ์คือบ่าวผู้สัตย์ซื่อของพระอัลลอฮ์ไม่มีรูปกายไม่มีเพศไม่มีการดำเนินชีวิตเหมือนมนุษย์เป็นสื่อกลางระหว่างพระอัลลอฮ์กับมนุษย์
ศรัทธาในบรรดาศาสนทูตหรือศาสดามี 258 ท่านในพระคัมภีร์อัลกุรอาน
ศรัทธาในพระคัมภีร์อัลกุรอานและมีคัมภีร์อื่น ๆ
เช่นนบีดาวูด (ดาวิด) นบีมซา (โมเสส) นบีอีซา (เยซู)
ศรัทธาในวันกียามะฮ์หรือวันปรโลกวันคืนชีพหลังจากวันสิ้นโลกมนุษย์ทุกคนรอวันตัดสินชำระความ
ศรัทธาในการลิขิตตขององค์พระผู้เป็นเจ้า
หลักปฏิบัติหน้าที่ในศาสนา
เรียกว่า อิบาดะห์
1. การปฏิญาณตนเข้ารับนับถือศาสนาอิสลาม
2. การละหมาดหรือสวด (นมาซหรือนมัสการ)
2) เวลากลางวัน
3) เวลาเย็น
1) เวลาย่ำรุ่ง
4) เวลาพลบคำ
5) เวลากลางคืน
3. การถือศีลอด
เป็นการฝึกฝนให้ตัวเองมีจิตผูกพันและยำเกรงต่อพระเจ้าเพื่อการดำเนินชีวิตในทุกด้านตามคำบัญชาของพระองค์
เป็นการอดอาหารในช่วงเวลาที่ถูกกำหนดไว้อย่างตายตัวนั้นจะทำให้ร่างกายได้ละลายส่วนเกินของไขมันที่สะสมเอาไว้
เป็นการเพิ่มพูนภูมิต้านทานแก่ร่างกายทำให้ร่างกายเคยชินกับความหิวและการรับประทานอาหารตรงตามเวลาเพราะใน 24 ชั่วโมง
ถือศีลอดจะรับประทานอาหารสองมือคือมือตอนดึกก่อนฟ้ารุ่งสางและมือคำเมื่ออาทิตย์ลับขอบฟ้า
การปฏิบัติตน
1) งดการกินและการดื่ม
2) งดการมีเพศสัมพันธ์
3) งดการใช้วัตถุภายนอกเข้าไปในอวัยวะภายใน
4) งดการแสดงอารมณ์ร้ายและความผิดต่างๆ
บุคคลที่ได้งดเว้น
1) คนชรา
2) คนป่วยหรือสุขภาพไม่ดี
3) หญิงที่มีครรภ์ที่เกรงว่าจะเป็นอันตรายแก่บุตร
4) บุคคลที่ทำงานหนักเช่นกรรมกรแบกหาม
5) บุคคลที่อยู่ในระหว่างเดินทาง
6) หญิงขณะมีรอบเดือนและหลังคลอด
4. การบริจาคศาสนทานซะกาต
การจ่ายทรัพย์สินส่วนเกิดจำนวนหนึ่งที่มุสลิมต้องจ่ายให้แก่ผู้มีสิทธิได้รับเมื่อครบปีเพื่อผดุงสังคมลดปัญหาช่องว่างระหว่างคนรวยและคนจน
เป็นหน้าที่ของมุสลิมทุกคนถ้ามุสลิมคนใดมีทรัพย์สินเงินทองหรือสินแร่ที่เหลือใช้ในรอบปีแล้วไม่ทำการบริจาคผู้นั้นเป็นบุคคลหนึ่งที่ทำผิดบทบัญญัติของอิสลาม
วัตถุประสงค์
1.เพื่อชำระล้างจิตใจของผู้บริจาคให้บริสุทธิ์ไม่ตกเป็นทาสแห่งวัตถุด้วยความโลภ และเห็นแก่ตัว
2.เพื่อปลูกฝังให้มุสลิมทั้งหลายเป็นผู้มีจิตใจเมตตา กรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ซึ่งกันและกัน
เพื่อลดช่องว่างระหว่างชนชั้นในสังคมด้วยวิธีการสังคมสงเคราะห์
5. การประกอบพิธีฮัจญ์
คือการเดินทางไปประกอบศาสนกิจ ณ เมืองเมกกะประเทศซาอุติอาระเบียคำว่าฮัจญ์หมายถึงการเดินทางไปยังจุดมุ่งหมาย
มักกะฮ์ซึ่งถือเสมือนว่าเป็นศูนย์กลางของซาวมุสลิมทั่วโลกเป็นสถานที่พบปะระหว่างมุสลิม
ความรู้ในเรื่องต่างๆ
พิธีสุหนัต
เด็กชายมุสลิมอายุระหว่าง 2-10 ขวบจะต้องได้รับพิธีสุหนัตการตัดหนังหุ้มปลายองคชาติ
ซึ่งถือว่าเป็นหน้าที่และเป็นสิ่งควรสรรเสริญทั้งเป็นธรรมเนียมเบื้องต้นของการแต่งงานจะมีการเชิญญาติพี่น้องอย่างน้อย 2-3 คนมาร่วมเป็นสักขีพยาน
หลักคุณธรรม (อิห์ซาน)
เป็นหลักเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรมและวัฒนธรรมที่มุสลิมทุกคนจะต้องยึดถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัดในการดำเนิน
วิถีชีวิตฮาลาล
Halal
คือการกระทำที่อนุญาต "ฮารอม
Harom
คือการกระทำที่ต้องห้ามการแต่งกายการปกปิดส่วนควรสงวนของร่างกายโดยแยกออกเป็นเพศได้ ดังนี้
เพศชายให้ปิดระหว่างสะดือกับหัวเข่า
เพศหญิงให้ปิดทั้งร่างยกเว้นใบหน้าและฝ่ามือ
วัฒนธรรมแต่งกาย
มุสลิมทั้งชายและหญิงมีสาระสำคัญเหมือนกันคือมิดชิดและปิดศีรษะ
นอกจากความมิดชิดแล้วอิสลามยังบัญญัติไว้ในเรื่องของความสะอาดกล่าวคือเครื่องแต่งกายทุกชินจะต้องสะอาดหมดจดไม่มีกลิ่นอับจะต้องหมั่นซักเป็นประจำเมื่อมีรอยขาดก็จะเย็บหรือชุน
ด้านสุขภาพ
ความเชื่อ
• ห้ามทำแท้งการทำแท้งจะทำได้ในกรณีจำเป็นที่ต้องรักษาชีวิตของแม่
• การขลิบอวัยวะเพศชายเป็นเรื่องที่แนะนำให้ปฏิบัติ
• การช่วยให้ฆ่าตัวตายหรือการุนฆาตเป็นเรื่องต้องห้าม
• หลังคลอดจะมีการขอรกเอาไปฝังต้องแจ้งให้ทราบหากมีข้อจำกัด
ไม่สามารถให้นำรกไปได้
การให้บริการทางการแพทย์และพยาบาล
จำกัดการสบตาไม่จ้องผู้ป่วยมากเกินไป
ผู้หญิงมุสลิมจะใส่เสื้อผ้าที่มีการปกคลุมร่างกายหากต้องการตรวจควรมีเสื้อคลุมที่ยาวสามารถปกผิดร่างกายได้ทั่วหากไม่สามารถจัดหาให้ได้ควรจะอนุญาตให้ใส่เสื้อผ้าของตนเองได้
มุสลิมไม่ได้ห้ามการได้รับบริการสุขภาพจากเพศตรงข้าม
ผู้ให้บริการควรเป็นเพศเดียวกับผู้ป่วยถ้ามีความจำเป็นต้องให้บริการจากผู้รักษาเพศตรงข้ามเช่นแพทย์เป็นผู้ชายควรให้สามีของผู้ป่วยเข้าไปด้วย
การดูแลเรื่องอาหาร
การดูแลอาหารเป็นอาหารฮาลาลไม่มีหมู
ไม่มีแอลกอฮอล์
การอดอาหารจะทำปีละครั้งช่วงเดือนรอมฎอนยกเว้นผู้ป่วยและหญิงตั้งครรภ์
•มุสลิมจะล้างมือก่อนและหลังรับประทานอาหารควรมีการเตรียมสถานที่มุสลิมจะใช้มือขวาในการจับอาหารและเครื่องดื่มในการประทาน
การดูแลทางจิตวิญญาณ
จัดสถานที่ละหมาด
มีสถานที่ล้างเท้าก่อนทำพิธีหรือจัดทำอ่างน้ำสำหรับอาบเพื่อทำการสวดทางศาสนาการสวดมนต์จะทำวันละ 5 ครั้ง
การสวดมนต์จะหันหน้าไปทางเมืองเมกกะควรเอาสิ่งที่เป็นสัญลักษณ์ทางศาสนาอื่นออกจากห้องผู้ป่วย
การดูแลผู้ป่วยในระยะสุดท้ายของชีวิตชาวมุสลิม
มุสลิมต้องยอมรับการเจ็บป่วยว่าเป็นสิ่งที่พระอัลลอฮ์กำหนดมาให้
ผู้ป่วยต้องอดทนต่อการเจ็บป่วยการเจ็บป่วยย่อมได้รับการลดบาปและได้กุศล
ผู้ป่วยต้องเอามือตนเองวางบนส่วนที่ตนเจ็บแล้วให้การละหมาดหรือขอพรจากอัลลอฮ์
4 การขอพรจากพระอัลลอฮ์พร้อมจับมือผู้ป่วยหรือสัมผัสปลอบโยนให้ผู้ป่วยมีอายุที่ยืนยาวและลดความทุกข์จากการเจ็บป่วย
การส่งเสริมกำลังใจตักเตือนให้เขาระลึกถึงความอดทน
6 ต้องไม่ตั้งข้อสังเกียจเดียดฉันท์ผู้ป่วยและไม่แสดงท่าทีรังเกียจญาติ
ความเชื่อเกี่ยวกับความตายของมุสลิม
เป็นภาวะที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ทุกคนต้องเผชิญและยอมรับเพราะเป็นความประสงค์ของพระอัสสอฮ์
ชีวิตมนุษย์มาจากพระองค์ประทานมาให้สุดท้ายต้องกลับไปหาพระองค์
อิสลามไม่ให้มนุษย์ฆ่าตัวตาย แต่ทุกคนต้องรำลึกถึงความตายอยู่ตลอดเวลาทั้งนี้เพื่อทุกคนได้เตรียมตัวเตรียมใจและพร้อมที่จะกลับไปสู่พระอัลลอฮ์
ข้อแนะนำในการไปเยี่ยมเคารพศพผู้นับถือศาสนาอิสลาม
กรณีศพอยู่ที่บ้าน-นำศพมาอาบน้ำชำระสิ่งสกปรกรดน้ำให้สะอาดทั้งตัว
กรณีศพอยู่ที่มัสยิดหรือสุเหร่าผู้ร่วมพิธีจะรอเคารพศพก่อนพิธีละหมาด-ผู้ร่วมพิธีมุ่งไปแสดงความเสียใจกับญาติพิธีฝังจะเป็นพิธีของญาติ ๆ มอบเงินซองให้เจ้าภาพ
พิธีศพ
เมื่อมีมัสยิต (คนตาย) ขึ้นในหมู่บ้านเป็นหน้าที่ของมุสลิมที่จะต้องไปเยี่ยมเยียนและช่วยเหลือโดยไม่ต้องรอรับคำเชิญหรือ
ให้แต่งกายธรรมดาไม่ต้องแต่งชุดดำเพราะไม่มีการไว้ทุกข์และการไปบ้านผู้ตายจะต้องไม่ไปเป็นภาระแก่เจ้าของบ้านโดยไปรับประทานอาหารหรือแม้แต่น้ำ
ก่อนนำไปฝังจะต้องนำไปยังมัสยิดเพื่อละหมาดให้ผู้ตายและอวยพรขอพรให้แก่ผู้ตาย
นายศราวุฒิ เป็งมูล 6201210255 เลขที่ 11 Section B วิชา SN 297