Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
4.1การบริหารยากินและยาเฉพาะที่ - Coggle Diagram
4.1การบริหารยากินและยาเฉพาะที่
วัตถุประสงค์ของการให้ยา
.เพื่อรักษา
รักษาเฉพาะโรค
ทดแทนสิ่งที่ร่างกายขาด
ให้ร่างกายทำงานตามปกติ
รักษาตามอาการ
เพื่อการป้องกันโรคและการส่งเสริมสุขภาพ
เพื่อการตรวจวิเคราะห์โรค
ปัจจัยที่มีผลต่อกาารออกฤทธิ์ของยา
อายุ&น้ำหนักตัว
เพศ
กรรมพันธุ์
ภาวะจิตใจ
ภาวะสุขภาพ
ทางที่ให้ยา
เวลาที่ให้ยา
สิ่งแวดล้อม
ระบบการตวงวัด
ระบบอโพทีคารี
20 grain (gr.) = 1scruple
scruple = 1 dram (z)
8 dram (z) = 1 ounce (oz)
12 ounce (oz) = 1 pound
ระบบ เมตริก
1 ลิตร= 1000มิลิลิตร(ซี.ซี.)
1กิโลกรัม =1000กรัม
1 กรัม = 1000มิลลิกรัม
1 มิลิกรัม = 1000ไมโครกรัม
1 กรัม = 1มิลลิลิตร(ซี.ซี)
Apothecary and Metric
15 grain ( gr.) = 1gm
1 grain (gr.) = 60mg❃
1 dram (z) = 4 gm
1 ounce (oz) = 30 gm
1 pound (lb) = 450 gm
2.2 pound (lb) = 1,000 gm
เครื่องตวงวัดประจำบ้านMetric
15 หยด=1 C.C
15 หยด=1 C.C
15 หยด=1 C.C
1 ช้อนโต๊ะ=15 C.C
1 ช้อนโต๊ะ=15 C.C
1 ถ้วยแก้ว=240 C.C.
ตัวย่อ สามารถเทียบระบบต่างๆ
1 gm = 1 c.c
1 dram= 4 c.c
1tsp = 5 c.c.
1 grain= 60 mg
30 gm = 1 ounce (oz)
30 c.c. = 1 ounce (oz)
คำย่อและสัญลักษณ์เกี่ยวกับคำสั่งการให้ยา
tid
วันละ3ครั้ง
bid
วันละ2ครั้ง
qid
วันละ4ครั้ง
OD
วันละครั้ง
q2้hr
ทุก2ชั่วโมง
วิถีทางการให้ยา
subling/SL คืออมใต้ลิ้น
inhal คือ ทางสูดดม
instill คือ หยอด
supp เหน็บ สอด
ID คือ เข้าระหว่างชั้นผิวหนัง
IV คือ เข้าหลอดเลือดดำ
SC คือ เข้าใต้ผิวหนัง
IM คือ เข้ากล้ามเนื้อ
o คือ รับประทานทางปาก
เวลาการให้ยา
a.c. คือ ก่อนอาหาร
p.c. คือ หลังอาหาร
h.s. คือ ก่อนนอน
p.r.n. คือ เมื่อจำเป็น
stat คือ ทันทีทันใด
รูปแบบการบริหารยา
Right patient/client(ถูกคน)คือการให้ยาถูกคน หรือถูกตัวผู้ป่วย
Right drug(ถูกยา)คือการให้ยาถูกชนิด
ครั้งแรก ก่อนหยิบภําชนะใส่ยาออกจากที่เก็บ
ครั้งที่สอง ก่อนเอายาออกจากภาชนะใส่ยา
ครั้งที่สาม ก่อนเก็บภาชนะใส่ยําเข้าที่หรือก่อนทิ้งภาชนะใส่ยา
Rightdose(ถูกขนาด)คือการให้ยาถูกขนาด
Right time(ถูกเวลา)คือการให้ยาถูกหรือตรงเวลา
การให้ยาก่อนอาหารเพื่อไม่ต้องการให้ยาได้สัมผัสกับอาหาร
การให้ยาหลังอาหารเป้ําหมายเพื่อให้ยาได้สัมผัสกับอาหารเพื่อช่วยเรื่องการดูดซึม
การให้ยาช่วงใดก็ได้คืออาหารไม่มีผลต่อการดูดซึมดังนั้นจึงให้ช่วงเวลาใดก็ได้
การให้แบบกำหนดเวลาหรือให้เฉพาะกับอาหารที่เฉพาะ เช่น การให้พร้อมกับอาหารค่ำแรกห้ามรับประทานพร้อมนม
Rightroute(ถูกวิถีทาง)คือการให้ยาถูกทาง
Right technique(ถูกเทคนิค)คือการให้ยาถูกตามวิธีการ ใช้เทคนิคที่เหมาะสม
Right documentation(ถูกการบันทึก)คือการบันทึกการให้ยาที่ถูกต้อง
Right to refuseคือการตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้รับความยินยอมจากผู้ป่วยในการจัดการยา
Right History and assessmentคือการซักประวัติและการประเมินอาการก่อน-หลังให้ยา
Right Drug-Drug Interaction and Evaluation คือการที่จะต้องให้ยาร่วมกันจะต้องดูก่อนว่ายานั้นสามารถให้ร่วมกันได้ไหม
Right to Education and Informationคือก่อนที่พยาบาลจะให้ยาผู้ป่วยทุกครั้งต้องแจ้งชื่อยาที่จะให้ ทางที่จะให้ยา ผลการรักษา ผลข้างเคียงของยาที่อาจจะเกิดและอาการที่ต้องเฝ้าระวังก่อนการให้ยาทุกครั้ง
การให้ยาทางปํากและยาเฉพาะที่
การให้ยาทางปาก
มีข้อควรปฏิบัติในการให้ยาทางปาก ดังนี้
ยาที่ระคายเคืองทางเดินอาหารให้กินหลังอาหารหรือนม(ยกเว้นยาพวก Tetracycline ไม่ควรให้ผู้ป่วยรับประทานพร้อมนม)
การให้ยาเม็ดในเวลาเดียวกัน สามารถรวมกันได้
ยาชนิดผงให้ใช้ช้อนตวงปาดแล้วเทใส่แก้วยา
ยาจิบแก้ไอควรให้ภายหลังรับประทํานยาเม็ดแล้วเพื่อให้ยาค้างอยู่ที่คอไม่ถูกน้้ำล้างออก
ยาลดกรดในกระเพาะอาหารควรให้อันดับสุดท้ายเพื่อช่วยลดอาการระคายเคือง
ยาอมใต้ลิ้นเช่น ไนโตรกลีนเซอลีน (Nitroglycerine) ไอซอร์ดิล (Isodril) ที่ใช้รักษาอาการเจ็บหน้าอกจากการขาดเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ
การให้ยาเฉพาะที่
ใช้หลักการบริหารยา 6 Rights
การสูดดม (Inhalation) เป็นการให้ยาในรูปของก๊าซ (Gas) ไอระเหย (Vapor) หรือละออง (Aerosol) สามารถให้โดยการพ่นยาเข้าสู่ทางเดินหายใจ
การให้ยาทางตา(Eye instillation)เนื่องจากดวงตาเป็นเนื้อเยื่อที่บอบบางมาก ติดเชื้อได้ง่าย การใช้ยาบริเวณตาจึงต้องคำนึงถึงความสะอาดเป็นสำคัญ
การให้ยาทางหู(Ear instillation)เป็นการหยอดยาเข้าไปในช่องหูชั้นนอก ยาที่ใช้เป็นยาน้ำ ออกฤทธิ์เฉพาะเยื่อบุในช่องหู มักเป็นยาชาหรือยาฆ่าเชื้อโรคเฉพาะที่
การหยอดยาจมูก(Nose instillation)ให้ผู้ป่วยเงยหน้าขึ้น และพยาบาลยกปีกจมูกผู้ป่วยข้างที่จะหยอดยาขึ้นเบาๆ แล้วหยดยาผ่านทางรูจมูกห่างประมาณ 1-2 นิ้วจากนั้นให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าเดิมประมาณ 5 -10 นาทีเพื่อป้องกันยาไหลย้อนออกมา
การเหน็บยาเป็นการให้ยาที่มีลักษณะเป็นเม็ดเข้าทางเยื่อบุตามอวัยวะต่างๆ เพื่อให้ยาออกฤทธิ์เฉพาะที่
วิธีการเหน็บยาทางทวารหนัก (Rectum suppository)
วิธีการเหน็บยาทางช่องคลอด (Vaginal suppository)
ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา(Prescription error)
ความคลาดเคลื่อนที่พบในใบสั่งยา (ใบ Order) อาจเกิดจากแพทย์เขียนผิดพลาด หรือไม่ชัดเจนรวมถึงการเลือกใช้ยาผิด การเลือกขนาดยาผิด การเลือกรูปแบบยาผิด
ความคลาดเคลื่อนในการคัดลอกคำสั่งใช้ยา(Transcribing error)
ความคลาดเคลื่อนของกระบวนการคัดลอกคำสั่งใช้ยาจากคำสั่งใช้ยาต้นฉบับที่ผู้สั่งใช้ยาเขียน
ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา(Dispensing Error)
ความคลาดเคลื่อนในกระบวนการจ่ายยาของกลุ่มงานเภสัชกรรม ที่จ่ายยาไม่ถูกต้องตามที่ระบุในคำสั่งใช้ยา ได้แก่ ผิดชนิดยา รูปแบบยา ความแรงยา ขนาดยา วิธีใช้ยา
ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา(Administration error)
การบริหารยาที่แตกต่างไปจากคำสั่งใช้ยาของผู้สั่งใช้ยาที่เขียนไว้ในใบบันทึกประวัติการรักษาผู้ป่วยหรือความคลาดเคลื่อนที่ทำให้ผู้ป่วยได้รับยาผิดไปจากความตั้งใจในการสั่งยาของผู้สั่งใช้ยา
คำสั่งแพทย์ และการคำนวณยา
Standingorder/ Orderfor continous
คำสั่งครั้งเดียวใช้ได้ตลอดไป เป็นคำสั่งที่สั่งครั้งเดียวและใช้ได้ตลอดไปจนกว่าจะมีคำสั่งระงับ (Discontinue)
Single order/ orderfor oneday
คำสั่งใช้ภายในวันเดียวเมื่อได้ให้ยาไปแล้ว เมื่อครบ1 วันก็ระงับไปได้เลย
Stat order
คำสั่งที่ต้องปฏิบัติทันที เป็นคำสั่งการให้ยาครั้งเดียวและต้องให้ทันที
PRN order
คำสั่งที่ให้เมื่อจำเป็น เป็นคำสั่งที่กำหนดไว้ให้ปฏิบัติเมื่อผู้ป่วยมีอาการบางอย่างเกิดขึ้น เช่น มีไข้ ปวดแผล ชัก
ส่วนประกอบของคำสั่งแพทย์ (order)
ชื่อผู้ป่วย
วัน เวลาที่สั่งยา
ชื่อยา
ขนาดและความเข้มข้นของยา
เวลา ความถี่ในการให้ยา
ทางที่ให้ยา
ลายมือชื่อของแพทย์ที่สั่งยา
คำนวณขนาดยา
HCTZ 1 เม็ดมี 50มิลลิกรัมแพทย์มีคำสั่งให้ HCTZ 25 mg1x1 OD.PC เช้า
ยา HCTZ50mg=1เม็ด
ต้องการยา25mg=25 x 1เม็ด50
ตอบ=1/2เม็ดหลังอาหารเช้า
Clindamycin 1เม็ดมี 150มิลลิกรัมแพทย์มีคำสั่งให้ Clindamycin (300mg)1X3 pc
ยา Clindamycin150mg=1เม็ด
ต้องการยา300mg=300x 1150=2 เม็ด
ตอบ ให้ยาClindamycin (150mg)=2 เม็ด วันละ 3ครั้งหลังอาหาร
บทบาทพยาบาลในการให้ยาผู้ป่วย
เมื่อผู้ป่วยเข้ามานอนรักษาในครั้งแรกพยาบาลตรวจสอบยาให้ตรงกับคำสั่งแพทย์พร้อมกับเช็คยาและจำนวนให้ตรงตามฉลากยาหากไม่ตรงให้แจ้งเจ้าหน้าที่ทันที
การซักประวัติจะถามเรื่องการแพ้ยาทุกครั้งดูสติ๊กเกอร์สีแสดงแพ้ยาที่ติดอยู่ขอบOPD card และดูรายละเอียดในOPD card ร่วมด้วยทุกครั้งและพยาบาลติดสติ๊กเกอร์สีบนชาร์ตผู้ป่วยและปั้มตรายางทุกหน้าคำสั่งของแพทย์และก่อนฉีดยาจะถํามอีกครั้งว่ามีประวัติแพ้ยาหรือไม่
เมื่อมีคำสั่งใหม่หัวหน้าเวรลงคำสั่งในใบ MAR ทุกครั้ง
การจัดยาให้ระมัดระวังในการจัดยาเนื่องจากความผิดพลาดด้านบุคคลโดยเฉพาะยาน้้ำ
เวรบ่ายพยาบาลจะตรวจสอบรายการยาในใบ MAR กับคำสั่งแพทย์ให้ตรงกันและดูยาในช่องลิ้นชักยาอีกครั้ง
กรณีผู้ป่วยที่NPO ให้มีป้ายNPO และเขียนระบุว่าNPO เพื่อผ่าตัดหรือเจาะเลือดเช้าให้อธิบายและแนะนำผู้ป่วยและญาติทุกครั้ง
กรณีคำงสารน้ำ+ยาB co 2 mlให้เขียนคำว่า+ยาB co 2 ml ด้วยปากกาเมจิกอักษรตัวใหญ่บนป้ายสติ๊กเกอร์ของสารน้ำให้ชัดเจนเพื่อสังเกตได้ง่าย
การจัดยาจะจัดตามหน้าชองยาหลังจากตรวจสอบความถูกต้องแล้วในการจัดยาที่เป็นคำสั่งใหม่ผู้จัดจะดูวันที่ที่สั่งยาใหม่หน้าซองยาในการเริ่มยาใหม่ในครั้งแรกพร้อมตรวจดูยากับใบMARอีกครั้งว่ามีตรงกันหรือไม่กรณีพบปัญหาไม่ตรงกันจะไปดูคำสั่งแพทย์อีกครั้ง
มีผู้จัด-ผู้ตรวจสอบคนละคนกันตรวจสอบช้าก่อนให้ยาให้ตรวจสอบ100% เช็คดูตามใบMAR ทุกครั้ง
สมรรถนะของพยาบาลในการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
สามํารถประเมินปัญหําผู้ป่วยที่เกี่ยวข้องกับกํารใช้ยํา หรือมีควํามจ ําเป็นต้องใช้ยําในกํารรักษํา
สํามํารถร่วมพิจํารณํากํารเลือกใช้ยําได้อย่ํางเหมําะสมตํามควํามจ ําเป็น (
สามารถสื่อสารเพื่อให้ผู้ป่วยร่วมตัดสินใจในการใช้ยา โดยพิจารณาจากข้อมูลทางเลือกที่ถูกต้อง เหมาะสมกับบริบทและเคารพในมุมมองของผู้ป่วย
บริหารยาตามการสั่งใชยาได้อย่างถูกต้อง
สามารถให้ข้อมูลที่จำเป็นต่อการใช้ยาได้อย่างเพียงพอ
สามารถติดตามผลการรักษา และรายงานผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ยาได้
สามารถใช้ยาได้อย่างปลอดภัยทั้งต่อผู้ป่วย และไม่เกิดผลกระทบต่อสังคมโดยรวม
สามารถใช้ยาได้อย่างเหมาะสม ตามความรู้ความสามารถทางวิชาชีพ และเป็นไปตามหลักเวชจริยศาสตร์
สามารถพัฒนาความรู้ความสามารถในการใช้ยา ได้อย่างต่อเนื่อง
สามารถทำงานร่วมกับบุคลากรอื่นแบบสหวิชาชีพ เพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาทางปากและยาเฉพาะที่
การประเมินสภาพ
ก่อนให้ยาต้องหาข้อมูลเกี่ยวกับตัวผู้ป่วยและยาที่จะให้ผู้ป่วย ต้องทราบข้อมูลเกี่ยวกับการแพ้ยา ภาวะขณะที่จะให้ยา เช่น งดน้ำงดอาหารทางปากอยู่ หรือการได้รับสารน้ำหรือให้เลือด สิ่งเหล่านี้ทำให้พยาบาลอาจจะต้องเปลี่ยนวิธีการให้ยา
การวินิจฉัยการพยาบาล
เมื่อรวบรวมข้อมูลจากการประเมินสภาพได้ทั้งหมดแล้วนำมาจัดหมวดหมู่ข้อมูลที่เป็นปัญหาดูว่าผู้ป่วยมีปัญหาหรือไม่มีปัญหาที่จะได้รับยาขึ้นอยู่กับข้อมูลที่ประเมินมาได้ในขั้นตอนแรกแล้วให้การวินิจฉัยพยาบาล
การวางแผนการพยาบาล
หลังจากได้ข้อมูลและปัญหาหรือข้อบ่งชี้ในการให้ยาแล้วทำาการวางแผนหําวิธีการว่าจะให้ยําอย่างไร ผู้ป่วยจึงจะได้ยาถูกต้อง ครบถ้วน ผู้ป่วยไม่เจ็บปวดหรือได้รับอันตรายโดยการตั้งเกณฑ์การประเมินของแต่ละข้อวินิจฉัยการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
เป็นการปฏิบัติการให้ยาตามแผนที่วางไว้ไปปฏิบัติ โดยยึดหลักความถูกต้อง 7ประการ
การประเมินผล
เนื่องจากยาที่ให้นอกจากจะมีผลทางการรักษา แล้วยังอาจทำให้เกิดปฏิกิริยาที่เป็นอันตรายต่อผู้ป่วยได้ ดังนั้นหลังจากให้แล้วต้องกลับมาตามผลทุกครั้ง เพื่อดูผลของยาต่อผู้ป่วยทั้งด้านการรักษาและผลข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ รวมถึงการแพ้ยาด้วย