Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม - Coggle Diagram
การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม
ความหมายของวัฒนธรรม (CULTURE)
"cultura” แปลว่าการเพาะปลูกและบำรุงใหเ้จริญงอกงาม (cultivation) ใช้อธิบายการเจริญงอกงามทางจิตวิญญาณ (Cultivation of The Soul) (Douglas 2001)
สิ่งที่แสดงถึงความ เจริญงอกงามของสังคมทั้งทางด้าน จิตใจและวัตถุ
พื้นฐานสำคัญ 6 ประการของวัฒนธรรม
มีพื้นฐานมาจากการใช้สัญลักษณ์
เป็นองค์รวมของความรู้และภูมิปัญญา
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่มนุษย์เรียนรู้
กระบวนการที่มนุษย์นิยามความหมายให้กับชีวิต และสิ่งต่างๆ
วัฒนธรรมเป็นความคิดร่วม
เป็นสิ่งที่ไม่อยู่นิ่ง มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพและการแสวงหาการรักษา ของประชาชนในภูมิภาคต่างๆของโลก
วัฒนธรรมดั้งเดิม Traditional Culture เช่น ความเชื่อ ประเพณี พิธีกรรม
วัฒนธรรมองค์กร Organizational Culture เช่น ปรัชญา วิสัยทัศน์ เข็มมุ่ง แผนกลยุทธ์
วัฒนธรรมแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
วัฒนธรรมทางวัตถุ (material culture) เช่น การแต่งกาย การแสดงพื้นบ้าน
วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ (non-material culture) เช่น ค่านิยม ความเชื่อ
องค์ประกอบของวัฒนธรรม
องค์พิธีหรือพิธีการ (Usage หรือ Ceremony)
องค์มติหรือมโนทัศน์(Concepts)
องค์การหรือสมาคม (Organization / Association)
องค์วัตถุ (Material)
ความสำคัญของวัฒนธรรม
ทำใหเ้กิดความสงบเรียบร้อยในสังคม
ทำให้มีพฤติกรรมเป็นแบบเดียวกัน
มีความรู้สึกเป็นพวกเดียวกัน
ทำให้เข้ากับคนพวกอื่นในสังคมเดียวกันได้
ทำให้เข้าใจชีวิตความเป็นอยู่
ทำให้มนุษย์มีสภาวะที่ต่างจากสัตว์
เป็นเครื่องกำหนดความเจริญหรือความเสื่อมของสังคม
คุณค่า ความเชื่อ ค่านิยมทางสังคมที่มีผลต่อหลักการในการดำเนินชีวิต
ความเชื่อ คือ การยอมรับคำอธิบายเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์หนึ่ง ๆ ที่บุคคลได้จากการ รับรู้และเรียนรู้ร่วมกันในสังคม และถ่ายทอดสืบต่อกันม.จนตกผลึกเป็นแบบแผน ทางวัฒนธรรมของสังคม
ประเภทของความเชื่อ
ความเชื่อขั้นพื้นฐานของบุคคล
ความเชื่อแบบประเพณี
ความเชื่อในสิ่งปรากฏอยู่จริง
ความเชื่อแบบเป็นทางการ
ปัจจัยที่มีอทิธิพลต่อความเชื่อ
ด้านจิตวิทยา : รับรู้ เรียนรู้
ด้านบุคคล
สังคมและวัฒนธรรม
ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรคและวิธีการดูแลสุขภาพ
ความเชื่อแบบการแพทย์แผนตะวันตก
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพในช่วงเปลี่ยนผ่านสถานการณ์ชีวิต
ความเชื่อแบบพื้นบ้าน
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความชรา
ความเชื่อแบบอำนาจเหนือธรรมชาติ
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตาย ด้านร่างกาย ด้านจิตใจ
ค่านิยมทางสังคม
ปัจจัยที่ทำให้เกิดค่านิยมทางสังคม
สถาบันศาสนา
สังคมวัยรุ่นและกลุ่มเพื่อน
โรงเรียน
สื่อมวลชน
ครอบครัว
องค์การของรัฐบาล
แนวคิดเกี่ยวกับ วัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
ป้องกันไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยหรือพิการ
ดูแลรักษาสุขภาพเมื่ออยู่ในภาวะเจ็บป่วยเป็นโรค
ส่งเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
ฟื้นฟูสุขภาพให้เข้าสู่ภาวะปกติ
ประเภทของวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพในสภาวะปกติ
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการป้องกันโรค
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพในสภาวะเจ็บป่วย
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการรักษาโรค
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการฟื้นฟูสมรรถภาพ
ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ แบ่งตามประโยชน์และโทษ
K = KNOWLEDGE การมีองค์ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม (CULTURAL KNOWLEDGE)
องค์ความรู้เหล่านี้สามารถศึกษาได้จาก ศาสตร์ต่าง ๆ
องค์ความรู้พื้นฐานทางวัฒนธรรมยังรวมไปถึงลักษณะเฉพาะ
การแสวงหาความรู้พื้นฐานที่ เกี่ยวข้องกับโลกทัศน์ (world view) ของ บุคคลที่มีความแตกต่างกันทางวัฒนธรรม
E = ENCOUNTER ความสามารถในการเผชิญและจัดการกับวัฒนธรรม (CULTURAL ENCOUNTER)
การที่บุคลากรสขุภาพมีความสามารถในการจดับริการที่เหมาะสมสำหรับ ผู้รับบริการที่มีภมูิหลังทางวัฒนธรรมที่ แตกต่างกัน มีการสื่อสารทั้งทางวัจนภาษา และอวัจนภาษาอย่างถูกต้องเหมาะสม
การหาประสบการณ์โดยการเข้าไปอยู่ร่วมในสังคมต่างวัฒนธรรม
. S = SKILL การมีท้กษะเกี่ยวกับวัฒนธรรม (CULTURAL SKILL)
การเรียนรู้วิธีประเมินความต่างทางวัฒนธรรม
การประเมินสุขภาพ เพื่อให้ได้มา ซึ่งความต้องการที่แท้จริงของผู้รับบริการ
การมีความไวทางวัฒนธรรม
นำไปสู่การสร้างความร่วมมือกับผู้รับบริการ
ความสามารถของบุคลากรสุขภาพใน การเก็บ ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติและปัญหาของผู้รับบริการ
D = DESIRE ความปรารถนาที่จะมีสมรรถนะทางวัฒนธรรม (CULTURAL DESIRE)
ความปรารถนาที่จะมีสมรรถนะทางวัฒนธรรม ของบุคลากรทางสุขภาพ ที่ทำให้ต้องการเข้าไปสู่ กระบวนการพัฒนาสมรรถนะทางวัฒนธรรม
เป็นขั้นที่สูงที่สุด
A = AWARENESS การตระหนักรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม (CULTURAL AWARENESS)
กระบวนการตระหนักรู้นี้ยังรวมถึงการตรวจสอบความอคติของตนเอง
หากบุคลากรสุขภาพ (พยาบาล) ยังไม่เข้าใจ ลึกซึ้งในวัฒนธรรมตนเอง ก็มีโอกาสที่จะเกิด พฤติกรรมการบริการที่ไม่เหมาะสมต่อผู้ใช้บริการต่างวัฒนธรรม
กระบวนการรู้คิดของบุคลากรสุขภาพที่เล็งเห็นถึงความสำคัญของการใหคุ้ณค่า
ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ แบ่งตามประโยชน์และโทษ
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ไม่ได้ให้ประโยชน
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ไม่แน่ว่าให้คุณหรือโทษ
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ส่งเสริมสุขภาพ
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ให้โทษ
ระบบการดูแลสุขภาพตามวัฒนธรรมของการดูแลสุขภาพ HEALTHCARE SYSTEM AS CULTURAL SYSTEM
ระบบการดูแลสุขภาพภาคพื้นบ้าน
ระบบการดูแลสุขภาพภาคประชาชน
ระบบการดูแลสุขภาพภาควิชาชีพ