Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม - Coggle Diagram
การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม
ความหมายของวัฒนธรรม
(Culture)
วัฒนธรรม
ความหมาย
หมายถึงวิถีการดำเนินชีวิต (The Way of Life) ของคนในสังคม ซึ่งเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น
ประเภทของวัฒนธรรม
วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ (non-material culture)
สิ่งของหรือวัตถุอันเกิดจากความคิดและการประดิษฐ์ขึ้นมาของมนุษย์
วัฒนธรรมทางวัตถุ (material culture)
วัฒนธรรมที่แสดงออกได้โดยทัศนะ ประเพณี ขนบธรรมเนียม การปฏิบัติสืบต่อกันมา
ลักษณะพื้นฐานที่สำคัญ
วัฒนธรรมมีพื้นฐานมาจากการใช้สัญลักษณ์ (Symbol)
วัฒนธรรมเป็นองค์รวมของความรู้และภูมิปัญญา
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่มนุษย์เรียนรู้ (Culture is learned)
วัฒนธรรมคือกระบวนการที่มนุษย์นิยามความหมายให้กับชีวิตและสิ่งต่างๆ
วัฒนธรรมเป็นความคิดร่วม (Shared ideas) และค่านิยมทางสังคม
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ไม่หยุดนิ่ง มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
องค์ประกอบของวัฒนธรรม
องค์วัตถุ (Material) ทั้งที่เป็นเครื่องมือและสัญลักษณ์ (Instrumental And Symbolic Objects)
วัฒนธรรมในด้านวัตถุที่มีรูปร่างสามารถจับต้องได้
องค์การหรือสมาคม (Organization หรือ Association)
วัฒนธรรมในส่วนของการจัดระเบียบเป็นองค์การหรือสมาคม
มีระเบียบแบบแผนหรือกฎเกณฑ์ข้อบังคับ
สถาบันทางสังคมต่างๆ กลุ่มหรือองค์กรต่างๆ
องค์มติหรือมโนทัศน์ (Concepts)
วัฒนธรรมในด้านความคิด ความเชื่อ และอุดมการณ์ต่างๆ
ได้รับมาจากคำสอนทางศาสนา
องค์พิธีหรือพิธีการ (Usage หรือ Ceremony)
จัดกระทำขึ้นเป็นขนบธรรมเนียมประเพณี
วัฒนธรรมในส่วนของพิธีหรือพิธีการต่างๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้นนับตั้งแต่การเริ่มต้นของชีวิต
ความสำคัญของวัฒนธรรม
วัฒนธรรมเป็นเครื่องกำหนดความเจริญหรือความเสื่อมของสังคม
การศึกษาวัฒนธรรมจะทำให้เข้าใจชีวิตความเป็นอยู่ ค่านิยมของสังคม
ทำให้มีความรู้สึกเป็นพวกเดียวกันและให้ความร่วมมือกันได้
ทำให้เกิดความสงบเรียบร้อยในสังคม
ทำให้มีพฤติกรรมเป็นแบบเดียวกัน
ทำให้เข้ากับคนพวกอื่นในสังคมเดียวกันได้
ทำให้มนุษย์มีสภาวะที่แตกต่างจากสัตว์
คุณค่า ความเชื่อ ค่านิยมทางสังคมที่มีผลต่อหลักการในการดำเนินชีวิต
ความเชื่อ
การยอมรับคำอธิบายเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์หนึ่ง ๆ ที่บุคคลได้จากการรับรู้และเรียนรู้ร่วมกันในสังคม และถ่ายทอดสืบต่อกันมา
ประเภทของความเชื่อ
ความเชื่อขั้นพื้นฐานของบุคคล
เกิดจากประสบการณ์ตรง
เกิดจากการแลกเปลี่ยนพบปะสังสรรค์
ความเชื่อขั้นพื้นฐานของบุคคล
ความเชื่อในสิ่งปรากฏอยู่จริง
ความเชื่อแบบเป็นทางการ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเชื่อ
ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม
ปัจจัยทางด้านบุคคล
ปัจจัยทางด้านจิตวิทยา
ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรคและวิธีการดูแลสุขภาพ
ความเชื่อแบบอำนาจเหนือธรรมชาติและวิธีการดูแลสุขภาพ
ความเชื่อแบบพื้นบ้านและวิธีการดูแลสุขภาพ
ความเชื่อแบบการแพทย์แผนตะวันตกและวิธีการดูแลสุขภาพ
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพในช่วงเปลี่ยนผ่านสถานการณ์ชีวิต
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการเกิดแบบแพทย์ตะวันตก
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการเกิดแบบพื้นบ้าน
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความชรา
ความเชื่อเกี่ยวกับความชราและการดูแลสุขภาพแบบพื้นบ้าน
ความเชื่อเกี่ยวกับความชราและการดูแลสุขภาพแบบการแพทย์แผนตะวันตก
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตาย
ค่านิยมทางสังคม
สิ่งที่เราเชื่อว่าสำคัญหรือมีคุณค่าในชีวิต อันจะนำไปสู่การมีแบบแผนการกระทำหรือพฤติกรรม
ปัจจัยทางสังคมหลายอย่างเข้ามามีอิทธิพลต่อการเรียนรู้
ครอบครัว
สื่อมวลชน
สังคมวัยรุ่นและกลุ่มเพื่อน
สถาบันศาสนา บุคคลและหน่วยงานของศาสนาต่างๆ
โรงเรียน
องค์การของรัฐบาล
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพและการแสวงหาการรักษาของประชาชนในภูมิภาคต่างๆของโลก
ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
แนวคิดหลัก 5 ประการ
Knowledge
การมีองค์ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม (cultural knowledge)
Encounte
ความสามารถในการเผชิญและจัดการกับวัฒนธรรม (cultural encounter)
Skill
การมีทักษะเกี่ยวกับวัฒนธรรม (cultural skill)
Desire
ความปรารถนาที่จะมีสมรรถนะทางวัฒนธรรม (cultural desire)
Awareness
การตระหนักรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม (cultural awareness)
ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
แนวทางการดูแลสุขภาพ
ระบบการดูแลสุขภาพภาคประชาชน (Popular health sector)
ระบบการดูแลสุขภาพภาคพื้นบ้าน (Folk sector of care) หรือการดูแลแบบทางเลือก
ระบบการดูแลสุขภาพภาควิชาชีพ (Professional health sector)
แบ่งได้ตามประโยชน์และโทษ
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ไม่ได้ให้ประโยชน์
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ไม่แน่ว่าให้คุณหรือโทษ
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ส่งเสริมสุขภาพ
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ให้โทษ
แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพในสภาวะปกติ
หมายถึง แบบแผนทางวัฒนธรรมของสังคมที่มีกำหนดขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตของคนในสังคม
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการป้องกันโรค
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพในสภาวะเจ็บป่วย
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการรักษาโรค
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการฟื้นฟูสมรรถภาพ
การรับรู้ของบุคคลที่มีต่อความผิดปกติของร่างกาย
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพ
ความคิด ความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพที่เชื่อมโยงตั้งแต่การดูแลสุขภาพตัวเอง
การดูแบสุขภาพทั้ง 4 มิติ
ป้องกันไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยหรือพิการ
ดูแลรักษาสุขภาพเมื่ออยู่ในภาวะเจ็บป่วยเป็นโรค
ส่งเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
ฟื้นฟูสุขภาพให้เข้าสู่ภาวะปกติ