Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 หลักการดำเนินชีวิตและกาารดูแลสุขภาพตามความเชื่อศาสนาพุทธ - Coggle…
บทที่ 2 หลักการดำเนินชีวิตและกาารดูแลสุขภาพตามความเชื่อศาสนาพุทธ
1.การดําเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาพุทธ
พระพุทธศาสนามุ่งเน้นเรื่องการพ้นทุกข์ และสอนให้รู้จักทุกข์และวิธีการดับทุกข์ ให้พ้นจากอวิชชา (ความไม่รู้ความจริงในธรรมชาติ) อันเป็นเหตุให้เกิดทุกข์จากกิเลสทั้งปวง คือ ความโลภ ความโกรธ ความหลง
2.หลักคําสอนในพุทธศาสนา
ความหมาย
ข้อผู้พันระหว่างชีวิตมนุษย์กับความจริงสูงสุดที่มนุษย์เชื่อเรื่องสําคัญในศาสนา
แก่นหรือสาระสําคัญของคําสอน
3.หลักศีลธรรมที่เป็นแม่แบบของจริยธรรมที่มนุษย์พึงปฏิบัติ เพื่อนําชีวิตไปตามแนวทางที่ประเสริฐ
1.ความจริงสูงสุดอันเป็นพื้นฐานหรือที่มาของหลักคําสอน
หลักปฏิบัติจริยธรรม
ความกตัญญูกตเวที คือ การรู้จักบุญคุณและตอบแทน อันเป็นหลักธรรมพื้นฐานทั่วไปของมนุษย์
หลักปฏิบัติศีลธรรม
หลักปฏิบัติศีลธรรม เป็นหลักคําสอนสําคัญของศาสนา ได้แก่ โอวาทปาติโมกข์ คือ การไม่ทําความชั่วทั้งปวง การบําเพ็ญแต่ความดี การทําจิตให้สะอาดบริสุทธิ์
ศีล 5
เป็นหลักปฏิบัติพื้นฐานของชาวพุทธ
ศีลข้อ 2 อทินนาทานา เวรมณี งดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้
ศีลข้อ 3กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม
ศีลข้อ 1 ปาณาติปาตา เวรมณี งดเว้นจากการทําชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป
ศีลข้อ 4 มุสาวาทา เวรมณี งดเว้นจากการกล่าวเท็จ
ศีลข้อ 5 สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี งดเว้นจากการดื่มสุราและเมรัย อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท
ศาสนาพุทธ
กฏไตรลักษณ์
หมายถึง กฏของธรรมชาติ
2.ทุกขัง คือ ความทุกข์ ถูกบีบคั้น ไม่สมอยาก ตั้งอยู่ไม่ได้
3.อนัตตา คือ ความไม่มีตัวตนที่แท้จริง
1.อนิจจัง คือความไม่เที่ยง ไม่คงตัว เสื่อมสลาย
อริยสัจ
หมายถึงคําสอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าประการหนึ่ง ว่าด้วย ความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ
สรุปว่าอริยสัจ 4 เป็นเหตุและผลของการเกิดแห่งทุกข์และวิธีการดับทุกข์ คือการไปสู่นิพพาน
ปฏิจจสมุปบาท
หมายถึง กระบวนธรรมของจิตในการเกิดขึ้นและดับไปแห่งทุกข์
นิพพาน
อสังขตธรรม เป็นการสิ้นไปแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ
ความคลายกําหนัด กําจัดความเมา ความกระหาย ก่อนเสียชื่อ ความอาลัย
ธรรมเป็นที่ระงับสังขารทั้งปวง สิ้นตัณหา
อายตนะ (สิ่ง) สิ่งนั้นมีอยู่ไม่ใช่ดิน น้ํา ลม ไฟ มิใช่โลกนี้-โลกหน้า มิใช่อาทิตย์-ดวงจันทร์ ในอายตนะไม่มีไป-มา ไม่มีตั้งอยู่ ไม่มีเกิด-ตาย เป็นอสังขตะ คือ ที่สิ้นสุดแห่งทุกข์
เป็นความดับสนิทของตัณหา ปล่อยวาง สลัดทิ้งโดยสิ้นเชิงซึ่งตัณหา
พุทธศาสนากับการปฏิบัติการพยาบาล
พุทธศาสน์กับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
การดูแลรักษาด้านจิตวิญญาณ
พระพุทธเจ้าแสดงโพชฌงค์รักษาอาพาธแก่พระมหาโมกคัลลานะ เมื่อพระมหาโมกคัลลานะอาพาธหนักอยู่ที่เขาคิชฌกูฏ พระพุทธเจ้าเสด็จไปเยี่ยมแล้วได้แสดงโพชฌงค์ให้แก่พระมหาโมกคัลลานะ เช่นเดียวกับที่แสดงให้กับพระมหากัสสปะทุกประการ เมื่อพระมหาโมกคัลลานะได้สดับโพชฌงค์จากพระพุทธเจ้าโดยตรง อาพาธก็สงบระงับและหายเป็นปกติในที่สุด
การดูแลรักษาด้านจิตใจ
อีกคราวหนึ่งเมื่อพระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่เวฬุวันทรงประชวรไม่สบายเป็นไข้หนัก ขณะนั้นพระมหาจุนทะได้เข้าไปเฝ้าถวายการอุปัฏฐาก พระองค์ถามท่านมหาจุนทะว่าเธอเข้าใจโพชฌงค์แจ่มแจ้งหรือ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสเอาไว้ชอบแล้วอันบุคคลเจริญแล้ว ทําให้มากแล้ว ย่อมเป็นไปตามความรู้ยิ่ง เพื่อความตรัสรู้ เพื่อนิพพาน
การดูแลรักษาด้านสังคม
พระอัครสาวกของพระองค์ คือ พระสารีบุตรและพระโมกคัลลานะ ก็จะใช้สมุนไพรที่หาได้ในท้องถิ่นมาเพื่อการดูแลสุขภาพ มื่อก่อนท่านอาพาธตัวร้อนเคยรักษาให้หายด้วยเภสัชอะไร พระสารีบุตรตอบว่า “ก็รักษาด้วยรากบัวและเหง้าบัว” พระโมกคัลลานะจึงได้จัดถวายพระสารีบุตรทันที เมื่อพระสารีบุตรฉัน รากบัวและเหง้าบัวอาการอาพาธก็หายทันที
การดูแลรักษาด้านร่างกาย
พระพุทธเจ้าเสด็จไปยังกรุงราชคฤห์ประทับอยู่ที่เวฬุวนารามพระองค์ประชวรด้วยโรคลมที่เกิดในพระอุทร ทรงทราบด้วยพระองค์เองว่าพระวรกายของพระองค์หมักหมมด้วยสิ่งอันเป็นโทษ จึงได้เตรียมยาที่ประณีตด้วยการอบก้านอุบลด้วยยาต่าง ๆ สามก้านแล้วนําไปถวายพระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์จะถ่ายถึง 30 ครั้ง พระองค์ได้ปฏิบัติตามคําแนะนํา พระวรกายก็เป็นปกติ
การนําผลการปฏิบัติศีล 5 มาเป็นเครื่องมือในการดูแลสุขภาพ
ศีลข้อ 3กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม
สาเหตุของการเกิดโรคทางเพศสัมพันธุ์ที่ยังเป็นปัญหาสุขภาพของทั่วโลก คือ การติดเชื้อเอชไอวี และกลายเป็นผู้ป่วยเอดส์เสียชีวิตในที่สุด
ศีลข้อ 2 อทินนาทานา เวรมณี งดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้
ารไม่ต้องการอยากได้ของคนอื่นมาเป็นของตน ส่งผลให้เกิดความเครียด ความอิจฉาริษยา ความเคียดก่อให้เกิดการเจ็บป่วยทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
ศีลข้อ 4 มุสาวาทา เวรมณี งดเว้นจากการกล่าวเท็จ
การโกหก พูดไม่จริง เป็นสิ่งที่ทําให้ไม่ได้รับข้อเท็จจริง ดังตัวอย่าง ตนเป็นผู้ติดเชื้อแล้วไม่แจ้งความจริงกับภรรยาของตนเอง ทําให้ภรรยานนั้นไม่ได้ป้องกัน
ศีลข้อ 1 ปาณาติปาตา เวรมณี งดเว้นจากการทําชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป
ตามความเชื่อและความศรัทธาของผู้ที่นิยมบริโภคอาหารเจ กล่าวว่า “กินผักกินไม้หยุดทําลายชีวิตสัตว์”
ศีลข้อ 5 สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี งดเว้นจากการดื่มสุราและเมรัย
นอกจากมีผลร้ายต่อสุขภาพของตนเองแล้ว เช่น อาจเกิดโรคมะเร็งตับ มะเร็งของท่อน้ําดี มะเร็งปอด
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองแนวทางพุทธศาสน์
การวางจิตวาระสุดท้าย
กรรมนิมิต
เครื่องหมายของกรรมที่ตนได้กระทําไว้แล้ว จะมาปรากฏให้เห็นในเวลาเมื่อใกล้จะตาย
กรรมอารมณ์
อารมณ์ของกรรมที่บุคคลได้กระทําไว้แล้ว ดีก็ตามไม่ดีก็ตามเวลาใกล้จะดับจิตอารมณ์อันนั้นแหละจะมาปรากฏทางด้านจิตใจ
คตินิมิต
เครื่องหมายของภพภูมิที่จะเกิดมาปรากฏให้เห็น
ความตายเป็นทั้งจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด
1.ความตายเป็นทั้งความแน่นอน และความไม่แน่นอนไปพร้อม ๆ
3.ความตายเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นตลอดเวลาที่ยังมีชีวิตอยู่
ความตายเป็นทั้งวิกฤตและโอกาส
5.ความตายมีทั้งมิติทางกายภาพและทางจิตวิญญาณ
6.การประคองรักษาจิตให้สงบเป็นปกติท่ามกลางสภาพความเจ็บป่วยทุกข์ทรมาน
7.การตายที่ดีทางพระพุทธศาสนาให้ระลึกถึงสิ่งที่ดี ซึ่งได้แก่พระรัตนตรัยและความดีที่ได้ทํามา
หลัก 7 ประการของการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยระยะท้าย
ช่วยให้เขาจดจ่อในสิ่งที่ดีงาม
ช่วยให้เขายอมรับความตายที่จะมาถึง
ช่วยให้เขาปลดเปลื้องสิ่งค้างคาใจ
1.การให้ความรัก ความเข้าใจ
ช่วยปล่อยว่างสิ่งต่าง ๆ
สร้างบรรยากาศที่เอื้อให้ใจสงบ
กล่าวคําอําลา