Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารยากินและยาเฉพาะที, เครื่องตวงวัดประจำบ้าน, ตัวย่อ, ตัวย่อ,…
การบริหารยากินและยาเฉพาะที
วัตถุประสงค์ของการให้ยา
รักษา
ตามอาการ
อาการปวด
เฉพาะโรค
ยาฆ่าเชื้อในผู้ป่วยที่มีภาวะติดเชื้อ
ทดแทนสิ่งที่ร่างกายขาด
ผู้ป่วยเป็นโลหิตจางรับเฟอรัส
ให้ร่างกายปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ
หัวใจเต้นเร็วรับยาดิจิทาลิส
ป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ
ให้วิตามินบํารุงร่างกายให้แข็งแรง
เพื่อการตรวจวิเคราะห์โรค
กลืนแป้งเบเรี่ยม เอ็กซเรย์เพื่อตรวจดูสภาพ
ของกระเพาะอาหารและลําไส้
ปัจจัยที่มีผลต่อการออกฤทธิ์ของยา
อายุและน้ําหนักตัว
เด็กเล็กตับและไตเจริญไม่เต็มที่
ผู้สูงอายุการทํางานของตับและไตลดลง จึงให้ขนาดยาน้อยกว่าคนปกติ
น้ําหนักตัวมากต้องได้รับขนาดยาเพิ่มสูงขึ้น
เพศ
ผู้ชายตัวใหญ่และน้ำหนักมากกว่าผู้หญิง
ถ้าได้รับยาเท่ากัน ยามีปฏิกิริต่อผู้หญิงมาก
กรรมพันธุ์
แพ้ยาง่าย
ภาวะจิตใจ
สาเหตุมาจากจดจําประสบการณ์ไม่ดีจากการได้รับยาครั้งก่อน
ภาวะสุขภาพ
ผู้ป่วยที่เป็นโรค เมื่อได้รับยาจะแสดงออก
ของฤทธิ์ยาต่างจากคนปกติ
ทางที่ให้ยา
ยาที่ให้ทางหลอดเลือดดูดซึมเร็วกว่าทางปาก
สิ่งแวดล้อม
อยู่ในที่สงบเพื่อจะได้พักผ่อน
เวลาท่ีให้ยา
ให้เวลาที่ถูกต้องยาจึงออกฤทธิ์ตามที่ต้องการ
ระบบการตวงวัดยา
ระบบอโพทีคารี
20 เกรน (grain) = 1 สครูเปิล (scruple)
3 สครูเปิล (scruple) = 1 แดรม (dram)
8 แดรม (dram) = 1 ออนซ์ (ounce)
12 ออนซ์ (ounce) = 1 ปอนด์ (pound)
ระบบเมตริก
1 ลิตร = 1000 มิลลิลิตร (c.c.)
1 กิโลกรัม = 1000 กรัม (gm)
1 กรัม = 1000 มิลลิกรัม (mg)
1 มิลลิกรัม = 1000 ไมโครกรัม (mcg)
1 กรัม = 1 มิลลิลิตร (c.c.)
ระบบมาตราตวงวัดประจําบ้าน
คำย่อและสัญลักษณ์เกี่ยวกับคำสั่งการให้ยา
ความถี่การให้ยา
วิถีทางการให้ยา
เวลาการให้ยา
a.c.
p.c.
h.s.
p.r.n.
stat
ทันทีทันใด
เมื่อจําเป็น
ก่อนนอน
หลังอาหาร
ก่อนอาหาร
คำสั่งแพทย์ คำนวณขนาดยา
คำสั่งแพทย์
ให้เมื่อจําเป็น
สั่งครั้งเดียวใช้ได้ตลอดไป
ใช้ภายในวันเดียว
ต้องให้ทันที
ส่วนประกอบของคำสั่งการรักษา
ชื่อของผู้ป่วย
ขนาดของยา
วันที่เขียนคําสั่งการรักษา
ชื่อของยา
วิถีทางการให้ยา
เวลาและความถี่ในการให้ยา
ลายมือผู้สั่งยา
วิถีทางการให้ยา
ปาก (oral)
สูดดม (inhalation)
เยื่อบุ (mucous)
ผิวหนัง (skin)
กล้ามเนื้อ (intramuscular)
ชั้นผิวหนัง (intradermal)
หลอดเลือดดำ (intravenous)
ใต้ผิวหนัง (subcutaneous / hypodermal)
คำนวณขนาดยา
ความเข้มข้นของยา (ในแต่ละส่วน) = ขนาดความเข้มข้นของยาที่มี / ปริมาณยาที่มี
รูปแบบการบริหารยา
Right patient/client (ถูกคน)
Right drug (ถูกยา)
Right dose (ถูกขนาด)
Right time (ถูกเวลา)
Right route (ถูกวิถีทาง)
Right technique (ถูกเทคนิค)
Right documentation (ถูกการบันทึก)
Right to refuse ตรวจสอบ
Right History and assessment
ซักประวัติ และประเมินอาการก่อน-หลังให้ยา
Right Drug-Drug Interaction and Evaluation
ดูว่ายานั้นสามารถใช้ร่วมกันได้ไหม
Right to Education and Information
ให้ยาผู้ป่วยต้องแจ้งทุกครั้ง
การให้ยาทางปากและยาเฉพาะที่
การให้ยาทางปาก
ยาที่ระคายเคืองทางเดินอาหาร
ให้กินหลังอาหารหรือนม
ยาเม็ดในเวลาเดียวกันรวมกันได้
ยาชนิดผง
ยาจิบแก้ไอ
ยาลดกรดในกระเพาะอาหาร
ยาอมใต้ลิ้น
การให้ยาเฉพาะที่
สูดดม (Inhalation)
ยาทางตา (Eye instillation)
ยาทางหู (Ear instillation)
หยอดยาจมูก (Nose instillation)
เหน็บยา
ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
การสั่งใช้ยา (Prescription error)
การคัดลอกคำสั่งใช้ยา (Transcribing error)
การจ่ายยา (Dispensing Error)
การบริหารยา (Administration error)
บทบาทพยาบาลในการให้ยาผู้ป่วย
เมื่อผู้ป่วยเข้ามานอนรักษาครั้งแรก
พยาบาลตรวจสอบยาให้ตรงกับคําสั่งแพทย์
ซักประวัติถามเรื่องการแพ้ยาทุกครั้ง
เมื่อมีคําสั่งใหม่ หัวหน้ําเวร
ลงคําสั่งในใบ MAR ทุกครั้ง
จัดยาให้ระมัดระวัง
เวรบ่าย พยาบาลตรวจสอบ
รายการยาในใบ MAR กับคําสั่งแพทย์ให้ตรงกัน
กรณีผู้ป่วยมีป้าย NPO ระบุเพื่อผ่าตัดหรือเจาะเลือดเช้า อธิบายและแนะนําผู้ป่วยและญาติทุกครั้ง
กรณีคําสั่งสารน้ํา+ยํา เขียนด้วย ปากกาเมจิก อักษรตัวใหญ่บนป้าย
จัดยาจัดตามหน้าชองยา
1 more item...
สมรรถนะของพยาบาลในการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
ประเมินปัญหาผู้ป่วยที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยา
ร่วมพิจารณาการเลือกใช้ยาได้อย่างเหมาะสมตามความจําเป็น
สื่อสารเพื่อให้ผู้ป่วยร่วมตัดสินใจในกํารใช้ยา
บริหารยาตามการสั่งใช้ยาได้อย่างถูกต้อง
ให้ข้อมูลที่จำเป็นต่อการใช้ยาได้อย่างเพียงพอ
ติดตามผลการรักษาและรายงานผล
ข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ยาได้
ใช้ยาได้อย่างปลอดภัยทั้งต่อผู้ป่วยและ
ไม่เกิดผลกระทบต่อสังคม
ใช้ยาได้อย่างเหมาะสม ตามความรู้ความสามารถ
ทางวิชาชีพและตามหลักเวชจริยศาสตร์
พัฒนาความรู้ความสามารถ
ในการใช้ยาได้อย่างต่อเนื่อง
ทํางานรวมกับบุคลากรอื่นแบบสหวิชาชีพ
เพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
กระบวนการพยาบาลในการบริหารยา
ทางปากและยาเฉพาะที่
1.การประเมินสภาพ
การวินิจฉัยการพยาบาล
3.การวางแผนการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
การประเมินผล
เครื่องตวงวัดประจำบ้าน
ระบบเมตริก
15 หยด
1 ช้อนชา
1 ช้อนหวาน
1 ช้อนโต๊ะ
1 ถ้วยชา
1 ถ้วยแก้ว
240 มิลลิลิตร (c.c.)
180 มิลลิลิตร (c.c.)
15 มิลลิลิตร (c.c.)
8 มิลลิลิตร (c.c.)
5 มิลลิลิตร (c.c.)
1 มิลลิลิตร (c.c.)
ตัวย่อ
OD
bid
tid
qid
q 6 hrs
ทุก 6 ชั่วโมง
วันละ 4 ครั้ง
วันละ 3 ครั้ง
วันละ 2 ครั้ง
วันละ 1 ครั้ง
ความหมาย
ตัวย่อ
O
M
SC
V
ID
subling
Inhal
Nebul
Supp
2 more items...
พ่นให้สูดดม
ทางสูดดม
อมใต้ลิ้น
เข้าชั้นระหว่างผิวหนัง
เข้าหลอดเลือดดํา
เข้าชั้นใต้ผิวหนัง
เข้ากล้ามเนื้อ
รับประทานทางปาก
ความหมาย
ระบบอโพทีคารี
15 เกรน (grain)
1 กรัม (gram) gm
1 เกรน (grain)
60 มิลลิกรัม (mg)
1 แดรม (dram)
4มิลลิลิตร (c.c.)
1 แดรม
4 กรัม
1 ออนซ์
30 กรัม (30 c.c.)
1 ปอนด์
450 กรัม
2.2 ปอนด์
1000 กรัม (1 กิโลกรัม)
ระบบเมตริก
การเปลี่ยนหน่วยระบบอโพทีคารีเป็นระบบเมตริก