Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการดาเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อทางศาสนา - Coggle Diagram
หลักการดาเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อทางศาสนา
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาพราห์ม-ฮินดู
ความเชื่อในศาสนาพราห์ม-ฮินดู
คัมภีร์ประกอบด้วยปรัชญาฮินดู ประมวลเรื่องปรัมปราฮินดู,
พิระเวท,โยคะ,พิธีกรรม,อาคมและการสร้างโบสถ์พิราหมณ์
คัมภีร์เล่มสำคัญได้แก่พิระเวท,อุปนนษัท,ภควัทคีตา,รามายณะและอาคม
คัมภีร์ของศาสนาฮินดูได้แก่ ศรุติ และสมรติ
ศาสนาพราห์ม-ฮินดู มีแนวคิดหลักสาคัญที่สนับสนุนการตั้งคำถามต่อที่มาและเนื้อความของคัมภีร์เพิื่อให้เข้าใจสัจธรรมต่างๆได้อย่างลึกซึ้งและสร้างประเพณีหรือแนวคิดต่อยอดในอนาคต
มีปรัชญาหลายแขนง แต่ก็สามารถเชื่อมโยงถึงกันผ่านแนวคิดที่มีร่วมกัน
หลักปฏิบัติของศาสนาพราห์ม-ฮินดู
อาศรม 4
ขั้นตอนการดำเนนนชีวิตของชาวฮินดูเฉพาะที่เป็นพราหมณ์วัยต่างๆโดยกำหนดเกณฑ์อายุ คนไว้ 100ปี แบ่งช่วงของการไว้ชีวิตไว้ 4ตอน ตอนละ 25ปี ช่วงชีวนตแต่ละช่วงเรียกว่า อาศรม (วัย) อาศรมทั้ง4ช่วง
วานปรัสถาศรม
อยู่ในช่วงอาย 40-60 ปี
สันยัสตาศรม
อยู่ในช่วงอายตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปผู้ปรารถนาความหลุดพิ้น (โมกษะ) จะออกบวชเป็น "สันยาสี" เมื่อบวชแล้วจะสึกไม่ได้
คฤหัสถาศรม
อยู่ในช่วงอาย 15-40 ปี
โมกษะ
คือ การหลุดพิ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด เช่นเดียวกับศาสนาพุทธ ถือว่าเป็นหลักความดีสูงสุด
พรหมจรยอาศรม
เริ่มตั้งแต่อายุ 8-15ปี ผู้เข้าสู่อาศรมนี้เรียกว่าพรหมจารี
คำสอนของศาสนาฮินดูสอนว่า"ผู้ใดรู้แจ้งในอาตมันของตนว่าเป็นหลักอาตมันของโลกพรหมแล้วผู้นั้นย่อมพิ้นจากสังสาระการเวียนว่าย ตาย เกนด และจะไม่ปฏิสนธิอีก"
1.การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาพุทธ (พุทธศาสนิกชน)
ความจริงสูงสุด4 ประการ
2.อริยสัจ
สมุทัย
นิโรธ
ทุกข์
มรรค
1.กฏไตรลักษณ์
ทุกขัง
อนัตตา
อนิจจัง
3.ปฏิจจสมุปบาท
กระบวนธรรมของจิตในการเกิดขึ้นและดับไปแห่งทกข์ใช้ในการปฏิบัตตนเพื่อการดับไปแห่งทุกข์
4.นิพพาน
ความดับสินทของตัณหา
กฏไตรลักษณ์
ทุกขัง คือความทุกข์ถูกบีบคั้นไม่สมอยาก ตั้งอยู่ไม่ได้
อนัตตา คือ ความไม่มีตัวตนที่แท้จริง
อนิจจัง คือความไม่เที่ยง
อริยสัจ 4
สมุทัย
คือ เหตุเกิดแห่งทุกข์ เอาตัวตนเป็นที่ตั้ง
นิโรธ
คือ ความดับทุกข์ ดับความอยาก สิ้นราคะตันหา สิ้นโทสะ สิ้นโมหะ
ทุกข์
คือ สภาพที่ทนได้ยาก ภาวะบีบคั้น กดดัน ขัดแย้ง มีความบกพร่อง
มรรค
คือ ทางปฏิบัตนในการออกจากทุกข์ 8ประการ
มรรค 8
4.สัมมากัมมันตะ
การประพฤติที่ถูกต้องรักษากรนยาทางกายไม่ทำร้ายทำลายชีวิตบุคคลอื่นไม่ลักขโมยฉ้อโกง ไม่ละเมิดทางเพศอยู่ในกรอบศีลรรมจรรยา
5.สัมมาอาชีวะ
ประกอบอาชีพในทางสุจริตเว้นจากการค้าอาวุธ ค้ามนุษย์ ยาพิษ เนื้อ สุรา ไม่ข่มขู่ กินสินบน เจ้าเล่ห์
3.สัมมาวาจา
ควบคุมวาจาของตนไม่กล่าวเท็จไม่พูดส่อเสียดไม่พูดหยาบคายไม่พูดเพื่อเจ้อ
6.สัมมาวายามะ
พยายามที่จะหยุดความคิดที่ชั่ว ควบคุมตนเอง มีวินัยในตนเอง ไม่ปลุกเร้าและหยุดอกุศลวิตก
7.สัมมาสติ
การรู้สึกตัวอยู่เสมอ ใจมีสติกำกับ กำหนดการเคลื่อนไหวของกาย กำหนดที่ความรู้สึกเวทนา เจ็บ กำหนดความนึกคิด
2.สัมมาสังกัปปะ
มีความคนดถูกต้องคู่กับสัมมาทนฏฐ
1.สัมมาทิฏฐ
มีความเห็นถูกต้องความไม่รู้ก่อให้เกิดความเห็นผิด
8.สัมมาสมาธิ
การที่จิตใจสงบ มีอารมณ์ เดียวไม่ฟุ้งซ่าน พร้อมที่จะพิจารณาสัจภาวะ
นิพพาน
ความดับสนิทของตัณหา การสิ้นไปของราคะ โทสะ โมหะ อายตนะ (สิ่ง) นั้นจะไม่มีอยู่
ศีล5
3.ไม่ประพฤตินผิดในกาม
4.ไม่โกหก
2.ไม่ขโมย
5.ไม่ดื่มสุราเมรัย
1.ไม่ฆ่าสัตว์
การดูแลสุขภาพแบบองค์รวมของพุทธศาสนิกชน
การดูแลจิตใจ
พระพุทธเจ้าทรงฟังพระมหาจุนทะสาธยาย โพชฌงค์ที่เวฬุวัน แล้วหายจากอาการประชวร
3.การดูแลจิตวิญญาณ
ในพรรษาสุดท้ายของพระพุทธเจ้าทรงประชวรหนักที่เวฬุคาม เมืองเวสาลี เมื่อใกล้จะปรินิพพาน ทรงมีพระสติสัมปชัญญะ ไม่พรั่นพรึง
การดูแลร่างกาย
หมอชีวกโกมารภัจจ์ ดูแลให้พระพุทธเจ้าเสวยยาคูปรุง งา ข้าวสาร ถั่วเขียว และให้ทรงสรงน้าร้อนละลายด้วยน้ำอ้อย
4.การดูแลด้านสังคม
อัครสาวกของพระพุทธเจ้า คือพระโมกคัลลานะ ดูแลรักษาพระสารีบุตร