Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาต้านโรคมะเร็ง และ ยากดภูมิคุ้มกัน💊💉🩺💤🌈✨, นางสาวพลินี จำปา 19A…
ยาต้านโรคมะเร็ง และ
ยากดภูมิคุ้มกัน
💊💉🩺💤🌈✨
ยาต้านโรคมะเร็ง Antineoplastic drugs
อธิบาย
มะเร็ง Cancer คือ กลุ่มของโรคที่เกิดจากการผิดปกติของรหัสสารพันธุกรรม ส่งผลต่อการเจริญเติบฌเต หรือ การเพิ่มจำนวนของเซลล์ที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว ถ้าไม่สามารถควบคุได้ และเกิดการกระจายเกิดขึ้นที่อวัยวะใด ก็เรียกตากอวียวะนั้น
การแบ่งตัวของเซลล์มะเร็งเหมือนกับเซลล์ปกติ คือ มี 5 ระยะ
S phase เป็นระยะที่เซลล์ทำหน้าที่สร้างและสังเคราะห์ DNA ให้เพิ่มขึ้นเท่าตัว เพื่อใช้ในการแบ่งเซลล์
G2 phase เป็นระยะที่เซลล์สร้างองค์ประกอบต่างๆ เพื่อใช้ในการแบ่ง DNA และ แบ่งเซลล์เป็น 2 เซลล์
G1 phase เป็นระยะพักของเซลล์
M phase เป็นระยะที่โครโมโซมหนาตัวขึ้น และ เซลล์ มีการแบ่งตัว แบบ Mitosis มีการแย่งเซลล์ออก 2 เซลล์ ที่มีองค์ประกอบเหมือนกันและเท่ากัน
1.G0 phase เป็นระยะพักของเซลล์ หลังจากที่เซลล์แบ่งตัวเสร็จสมบูรณ์
เข้าใจหลักของวัฏจักรเซลล์มะเร็ง จึงมีความสำคัญ เพื่อช่วยทำให้เข้าใจการทำงานของยารักษามะเร็ง หรือ เรียกว่า ยาเคมีบำบัด Chemotherapy drug .ใช้ได้กับเซลล์ที่อยู่ในช่วงแบ่งตัวเท่านั้น Reproducing
แบ่งยาตามการออกฤทธิ์ในวัฏจักรเซลล์มะเร็ง ได้ 2 แบบ
Cell cycle - specigic drugs (CCS)
เป็นยาที่ออกฤทธิ์ต่อเซลล์ที่อยู่ในระยะหนึ่งของวงจรเซลล์เท่านั้น ไม่มีผลต่อเซลล์ในระยะอื่น ยากลุ่มนี้ใช้ได้ผลดี ในมะเร็งที่มีอัตราการแบ่งตัวอย่างรวดเร็วหรือแบ่งตัวอย่างต่อเนื่อง เช่น เซลล์มะเร็งเม็ดเลือด
Cell cycle - nonspecigic drugs (CCNS)
เป็นยาที่ออกฤทธิ์ต่อเซลล์ที่อยู่ได้ทุกระยะในวงจรของเวลล์ ยากลุ่มนี้ ใข้ได้ผลดีในมะเร็ง ที่มีอัตราการโตของก้อนมะเร็งทั้งต่ำและสูง
แบ่งกลุ่มตามคุณสมบัติทางชีวเคมี Biochemical จะแบ่งยาChemotherapy ได้ 6 กลุ่ม
ยากลุ่ม Anticancer antibiotics
3.2 Doxorubicin (DOC) : ยาปฎิชีวนะกลุ่ม Anthracyclines
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งtopoisomerase 2 แทรกไปอยู่ระหว่าง DNA base pair ในสาย DNA ปิดกั้นการสังเคราะห์DNA RNAรบกวน การทำงาน ของเยื่อหุ้มเซลล์ และ สร้างอนุมูลอิสระซึ่งทำให้สาย DNA แตก
การนำไปใช้ทางคลินิก
เป็นยาฉีดทางหลอดเลือดดำ หากเป็นยาทานจะมำลายกระเพาะ มีฤทธิ์ในการรักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน acute leukemia , มะเร็งต่อมน้ำเหลือง lymphoma , มะเร็วพลาสมา Multiple myeloma , มะเร็วเต้านม มะเร็วเยื่อบุโพรงมดล฿ก มะเร็งรังไข่ มะเร็งไทรอยดู มะเร็งปอด
3.3 Bleomycin
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์จับกับ เหล็ก ได้เป็นสารประกอบเชิงซ้อน กับยาเหล็ก ทำปฏิกิริยากับออกซิเจน ได้ อนุมูลอิสระ เกิดการแตก ของ DNA ยามีผลต่อ ระดับ G2
การนำไปใช้ทางคลินิก
ฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ กล้ามเนื้อ ชั้นใต้ต้ผิวหนัง หรือฉีดเข้าช่องต่างๆ ของร่างกาย เช่น ช่องปาก ช่องอกช่องอุ้งเชิงกราน เป็นต้น
ยาใช้รักษา มะเร็งอัณฑะ testicular cancer ,Hodgkin’s and Non Hodgkin’s lymphoma และ Epithelial tumor เช่น squamous cell carcinoma
3.1 Dactinimycin หรือ Avtinomycin D
กลไกการออกฤทธิ์
สอดแทรกเข้าไปในสาย DNA ยับยั้ง DNA polymerase ทำให้สาย Single strain of DNA แตก
การนำไปใช้ทางคลินิก
เป็นยาฉีดเข้า หลอดเลือดดำ ใช้ร้วมกับยา incristine ในการรักษา Wilms’tumor และมะเร็งของเนื้อเยื่อเกี่ยวพันในเด็ก(rhabdomycosarcoma) และ ใช้ร่วมกับยา Methotrexate ในการรักษา choriscarcinoma นอกจากนั้นยายังนำใช้ในการรักษา Ewing ‘ s Tumor และ Kaposo’s sarcoma
3.4 Mitomycin
กลไกการออกฤทธิ์
เปลี่ยนสารไปเป็น Alkylating Agent มีฤทธิ์แรงมาก เกิดสะพานในสายDNA ยังยั้งการสร้างDNA
การนำไปใช้ทางคลินิก
doxorubicin มีพิษต่อหัวใจ cardiotoxicity มีผลทั้งพิษเฉียบพลัน และ เรื้อรัง ทำให้เกิด Arrhythmia and CHF ตามลำดับ
Bleomycin มีพิษต่อปอด Pulmonary toxicity ทำให้ปอดอักเสบ และ มีพังผืด ในปอด การให้ครั้งแรหลกๆ ต้องระวัง ลเพราะมีโอกาสแพ้ยาอย่างรุนแรง และ เสียชีวิตได้ แต่มีข้อเด่น ใชของยานี้ คือ กดไขกระดูกน้องมาก
ผลข้างเคียงยากลุ่ม Anticancer antibiotics
ยากลุ่มสารสกัดจากพืชธรรมชาติ (Natural and semi-synthetic products)
4.1 ยากลุ่ม Vinca Alkaloids จากพืช ได้แก่ Vincristine , Vinblastine , Vinorelbine
4.1.1 Vincristine (VCR) : Oncovin
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
Vinca alkaloids : ยาจะเข้าไปจับกับ protein tubular ทำให้ยับยั้งการประกอบ microtubules ยับยั้งการประกอบตัวของ mitotic spindleเซลล์หยุดการเจริญเติบโตในระยะmetaphase M Phase : ระยะที่มีการแบ่งตัว แบบ mitosis
4.1.2 Vinblastine (VLB) : Velban
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
ฉีดเข้าหลอดเลือดดำ ใช้รักษามะเร็งต่อมน้ำเหลือง ชนิด Hodgkin’s และ non Hodgkin’ lymphoma มะเร็งอัณฑะ มะเร็งเต้านม
4.1.3 Vinorelbine : Navelbine
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
ใช้รักษา non small cell cancer และ มะเร็งเต้านม
4.2 ยากลุ่ม Taxane
กลไกการออกฤทธิ์ของยากลุ่ม Taxanes
ยาจับกับ B-tubulin ทำให้เพิ่มการก่อนัวเป็น microtubules แต่ยับยั้ง การสลายสาย microtubu
les ทำให้การแบ่งเซลล์ mitosis ไม่สมบูรณ์ โดยหยุดชะงักที่ระยะ anaphase
ผลข้างเคียงยากลุ่ม Taxane
กดไขกระดูก ทำให้เปลม็ดเลือกขาว และ เกล็ดเลือดต่ำ โดยเฉพาะยา Doxocetaxel จะกดไขกระดูกมากกว่ายาตัวอื่น
-Pacilitaxel ถ้ารใช้หลายครั้ง อาจทำให้เกิดภาวะคั่งของน้ำทั่วร่างกาย Fluid retention ซึ่งอาจรุนแรง ถึงขั้น ปอดบวม น้ำ
แพ้ยา เช่น ผื่นลมพิษ
-ผลต่อทางเดินอาหาร เช่น คลื่นไส้ อาเจียน
อวัยวะส่วนปลายบวม โดยเฉพาะ ยาDocetaxel พบมากกว่ายาตัวอื่น
-ระบบประสาทผิดปกติ
การนำไปใช้ทางคลินิก
เป็นยาฉีดเข้าหลอดเลือดดำ ใช่รักษามะเร็งเต้านม มะเร็ง ปลอดรังไข่ หัวและคอ นอกจากนั้นยา cabazitaxel ยังสามารถ ใช้ร่วมกับ steroid ในการรักษามะเร็งต่อมลูกหมาก ระยะแพร่กระจายและดื้อยา
ยากลุ่ม Antimetetabolites
2.2 Purine analogs
2.2.2 ยา 6- Trioguanine (6-TG)
กลไกการออกฤทธิ์
คล้าย 6-MP
การนำไปใช้ทางคลินิก
ใช้รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิด ANLL หรือ AML โดยใช้ร่วมกับยา Daunorubicin และ Cytarabine
2.2.3 ยา Fludarabine
กลไกการออกฤทธิ์
เช้าไปแทรกกระบวนการเชื่อมต่อของสาย DNA เกิดการยับยั้งการสร้าง DNA
การนำไปใช้ทางคลินิก
เป็นยาฉีดเข้าเลือดดำ เนืองจากมีพิษต่อทางเดินอาหารมาก หากทานโดยการรับประทาน ใช้รักษา CLL และ มะเร็งต่อมน่้ำเหลืองชนิดไม่รุนแรง
2.2.1 ยา 6 - mercaptopurine (6-MP)
กลไกการออกฤทธิ์
โครงสร้างคล้าย Purine analog ซึ่งเป็นยาชนิดแรกที่นำมารักษามะเร็ง เมื่อเข้าสู่กระแสเลือด จะถูกเปลี่ยนเป็น Ribonucleotide ยับยั้ง enzyme หลายตัว ที่เกี่ยวข้องกับ กทรสร้าง Purine ที่จะถูกนำมาใช้สังเคราะห์กรดนิวคลีอิค ที่จำเป็น ในการสร้าง DNA จึงทำให้ไม่สามารถสร้างและสังเคราะห์ DNA RNA ได้
การนำไปใช้ทางคลินิก
เป็นยารับประทาน ใช้รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวขนิด All (Acute lympholytic leukemia) และ AML (Acute myelogenous leukemia) or Acute nonlymphocytic (Leukomia : ANLL)
ผลข้างเคียงยากลุ่ม Purine analogs
แผลในปาก
กดไขกระดูก ขยาดยาสูง ทำให้เกิด Leucopenia , Thrombocytopenia เกิดพิษต่อตับ และกระบวนการทางเดินอาหาร เช่น คลื่นไส้ อาเจียน อุจจาระร่วง
2.3 Pyrimidine analogs
2.3.2 Capectibine
กลไกการออกฤทธิ์
คล้าย (5-FU)
การนำไปใช้ทางคลินิก
ยาเม็ดรับประทาน บรรเทาอาการผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
2.3.3 Cytarabine
กลไกการออกฤทธิ์
ยาจะไปเติมหมู่ ฟอตเฟสต เกิดการยับบยั้งการเชื่อมต่อสาย DNA
การนำไปใช้ทางคลินิก
เป็นยาฉีดทางหลอดเลือดดำ ใช้หยดช้าๆ 5-7 วัน รักษามะเร้งเม็ดเลือดขาว AML
2.3.1 5-Fluorouracil (5-FU)
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการทำงานของ Enzyme Thymidylase synthase ซึ่งเป็นเอนไซม์จำเป็นในการสังเคราะห์ DNA RNA
การนำไปใช้ทางคลินิก
ชนิดฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ (ยาเป็นพิษต่อทางเดินอาหารเมือได้รับโดยการกิน) รักษามะเร็งเต้านม มะเร็งทางเดินอาหาร เช่น กรพเพาะอาหาร
ชนิดทาใช้รักษา มะเร็งผิวหนัง
2.3.4 Gemcitabine
กลไกการออกฤทธิ์
เมื่อยาเข้าสู่เซลล์ กระตุ้นการเติมหมู่ฟอตเฟต เข้าไปแทรกในกระบวนการเชื่อมจับสาย DNA เกิดการยับยั้ง DNA
การนำไปใช้ทางคลินิก
ยาชนิดยาฉีดทางหลอดเลือดดำ ใช้รักษามะเร็งตับอ่อนที่แพร่กระจายไปแล้ว มะเร็งปอด มะเร็งรังไข่ มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ กระเพาะอาหาร ศีรษะ และคอ
ผลข้างเคียงยากลุ่ม Pyrimidine analogs
2.1 Antifolate / Folate antagonist : Methotrexate
2.1.1 Methotrexate (MTX)
กลไกการออกฤทธิ์
ยาต้าน Folate ที่ออกฤทธิ์ยับยั้ง Enzyme dihydrofolate reductase (DHFR) ที่เปลี่ยน Dihydrofolate ไปเป็น Tetrahydrofolate ที่เป็น cofactor สำคะญที่นำไปใช้ในการสร้างสารตั้งต้น ของ DNA RNA and Protein
การนำไปใช้ทางคลินิก
มีทั้งยาที่รับประทาน ยาฉีดเจ้าเส้นเลือดดำ ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ และ ฉีดเข้าน้ำไขสันหลัง ใช้รักษาโรคมะเร็งหลายชนิด เช่น มะเร็งรก มะเร็งปอด มะเร็งเม็ดเลือดขาว Acute lymphocytic leukemia : All มะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิด Non Hodgkin's Lymphoma มะเร็งกระดูก และ มะเร็งเต้านม
2.1.2 Pementrexed
กลไกการออกฤทธิ์
ยาต้าน Folateตัวใหม่ เมื่อยาเข้าสู่ร่างกายจะถูก Metabolite ให้กลายเป็นสารที่มีฤทธิ์ยับยั้งการสังเคราะห์และสร้างสารตั้งต้น ของ DNA RNA and Protein
การนำไปใช้ทางคลินิก
ใช้รักษามะเร็งปอด มะเร็งตับอ่อน
ยากลุ่มฮอร์โมน (Hormone and hormone antagonists)
5.3 ยาออกฤทธิ์ต้านฮอร์โมน Androgen
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
-ยาGoserelin เป็นยาที่ฝังเข้ากล้ามเนื้อส่วนยา
euprolide เป็นยาชนิดฉีดเข้าชั้นใต้ปอยหนังกลุ่มยานี้ใช้รักษามะเร็งต่อมลูกหมาก มะเร็วเต้านม ในระยะแพร่กระจาย และ โรคเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดปกติ
ยา Abarelix ดลเป็นยาฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ใช้บรรเทาอาการผู้ป่วยมะเร็งต่อมลูกหมากระยะสุดท้าย
ผลข้างเคียง
ร้อนวูบวาบ
เสื่อมสมรรถนทางเพศ
-ในระยะแรก ทำให้เซลล์มะเร็ง เจริญมากขึ้น และ ผลกระบุน้องการหลั่ง FSH LH ในช่วงแรก
5.4 ยาฮอร์โมน Progestins
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
ใช้รักษามะเร็ง เยื่อบุมดลูก endometrial carcimoma , มะเร็งเต้านม breast cancer และมะเร็งปอด renal carcinoma
ผลข้างเคียง
Progesterone เพิ่มอุบัติการณ์การเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจอุดตัน
5.2 ยาฮอร์โมน Estrogens
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
-Tamoxifen เป็นตัสเบ่อกในการนำมารักษามะเร็งเต้านม
-Toremifene ใช้รักษามะเร็งเต้านม Raloxifene ใช้ป้องกัน การเกิดมะเร็งโรคกระดูกพรุน osteoporosis
ผลข้างเคียง
อาการร้อนวูบวาบ รบกวนระบบทางเดินอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
มีประจำเดือนผิดปกติ ใช้ระยะยาวเสี่ยงลิ้มเลือดอุดตันในหลอดเลือด thromboembolic disease
5.1 ยากลุ่ม Steroid : Glucocoticoids
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
ใช่รักษามะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิด Hodgkin’s และ non Hodgkin’s lymphoma , มะเร็งเม็ดเลือดขาว ชนิด all (Acute lymphoma leukemia)
ผลข้างเคียง
กลูโคสในเลือดอาจสูง hyperglycemia โรคกระดูกพรุน osteoporosis โรคแผลในกระเพาะและลำไส้
ยากลุ่ม Alkylating agents
1.3 Cholrambucil
กลไกการออกฤทธิ์
ทำให้เกิด หมู้ฃ่ Alkyl ไปจับกับสาย DN A ส่งผลให้ DNA ทำให้เซลล์มะเร็ง แบ่งตัวไม่ได้ เกิด DNA Strand break และ ทำให้เซลล์ตาย
การนำไปใช้ทางคลินิก
รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเรื้องรัง และ มะเร็งต่อน้ำเหลือง
1.4 Carmustine
กลไกการออกฤทธิ์
ทำให้เกิด หมู้ฃ่ Alkyl ไปจับกับสาย DN A ส่งผลให้ DNA ทำให้เซลล์มะเร็ง แบ่งตัวไม่ได้ เกิด DNA Strand break และ ทำให้เซลล์ตาย
การนำไปใช้ทางคลินิก
รักษามะเร็งสมอง
1.5 Dacarbazine (DTIC1)
กลไกการออกฤทธิ์
เปลี่ยนแปลงโดย CYP450 ให้กลายเป็นสารที่มีพิษต่อการสร้าง DNA RNA ของเซลล์มะเร็ง
การนำไปใช้ทางคลินิก
ฉีดเข้าหลอดเลือดดำ ใช้ร่วมกับยา Adriamycin , Bleomycin , Vinblastine or Dacarbazine ในการรักษามะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิด Hodgkin's Lymphoma และ มะเร็งผิวหนัง
1.6 Cisplatin Carboplatin
กลไกการออกฤทธิ์
แทรกเข้าเชื่อมกับสาย DNA ยับยั้งกระบวนการ DNA replication , Translation
การนำไปใช้ทางคลินิก
ฉีดเข้าหลอดเลือดดำหรือเข้าทางช่องท้อง ใช้ร่วมกับยารักษามะเร็งอันฑะ มะเร็งรังไข่
1.2 Ifosfamind (Holoxan : IFOD)
กลไกการออกฤทธิ์
กลไกเหมือน Cyclophosphamind
การนำไปใช้ทางคลินิก
ยามีทั้งรูปแบบ ฉีด และ รับประทาน ใช้รักษามะเร็งต่อมน้ำเหลือง มะเร็งอัณฑะ และ มะเร็งเนื้อเยื่ออ่อน เช่น กระดูก กระดูกอ่อน ไขมัน กล้ามเนื้อ และ หลอดเลือด
1.7 Busulfan (Myleran)
กลไกการออกฤทธิ์
เชื่อมกับสาย DNA แบบ Cross-linking ทำให้เซลล์มะเร็งไม่สามารถแบ่งตัวสร้างได้ ก็ตาย
การนำไปใช้ทางคลินิก
รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาว
1.1 Cyclophosphamind
กลไกการออกฤทธิ์
ยาเข้าสู่ร่างกายจะถูกเปลี่ยนแปลง โดย CYP450 ให้กลายเป็น Phosphoramide mustard แทรกเข้าไปในขบวนการสร้าง DNA แบบ Cross-linking และ มีการเติมหมู่ Alkyl ที่เบส Guanine บนสาย DNA และ กระตุ้นให้เกิดการตายของเซลล์
การนำไปใช้ทางคลินิก
ยาทั้งรูปแบบ ฉีด และ รับประทาน ใช้รักษามะเร็งรังไข่ มะเร็งเต้านม มะเร็งตอมน้ำเหลืองขนิด Hodgkin's และ Non Hodgkin's Lymphoma มะเร็งเม็ดเลือดขาว
1.8 Mechlorethamine (Mustaegen , Mustine)
กลไกการออกฤทธิ์
แทรกเข้าเชื่อมสาย DNA ทำให้สาย DNA แตก และยับยั้งกระบวนการ DNA Translation
การนำไปใช้ทางคลินิก
เดิมใช้รักษาะเร็งต่อมน้ำเหลือง ชนิด Hodgkin's Lymphoma แต่ปัจจุบันใช้น้อยลง เพราะเปลี่ยนไปใช้ Cycloplamide และ ยาอื่นๆแทน
ผลข้างเคียง
ทำให้เกิดการทำงานของไขกระดูก ทำให้เม็ดเลือดขาวต่ำ เม็ดเลือดแดงต่ำ เกล็ดเลือดต่ำ หลังได้รับยา เป็นผลข้างเคียงที่พบได้ใมนยากลุ่มนี้
ต่อระบบทางเดินอาหาร มิวคัสเซลล์ ของทางเดินอาหาร ทำให้คลื่นไส้ อาเจียน แผลในปาก เบื่ออาหาร ที่พบในผู้ป่วยทุกราย
อาการพิษต่อระบบประสาท พบยา Ifosfamide สูงกว่ายาชนิดอื่น ทำให้ผู้ป่วยมีอารมณ์แปลปรวน
พิษต่อไต เลือดออกในกระเพาะปัสสาวะ
-พิษต่อหัวใจ เลี่ยงการใช้ในผู้ป่วยโรงหัวใจ
-พิษต่อผิวหนัง ทำให้มีผิวคล้ำ โดยเฉพาะขาหนีบ เอว รักแร้ ทำให้ผมร่วม และ ผมร่วมจะหยุดเมื่อหยุดยา เล็บมีรอยดำ พบในยา Cyclophosphamide
ยากลุ่ม อื่นๆ (Enzyme and adrenolytic)
6.1 ยา Monoclonal antibodies
6.1.2 Rituximab (Rituxan)
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
รักษา B-cell lymphoma
ผลข้างเคียงจากยา
-อาจากให้เกิดInfusion reaction ที่มีความอันตรายถึงชีวิต เช่น มีอาการความดันต่ำ หลอดลมบีบเกร็ง บวม angeödetstes etc
กลไกการออกฤทธิ์ยา
จับกับ CD20 at B cell ได้หลังจากที่จับแล้วจะกระตุ้นการตอบสนองขอบระบบพูมิคุ้มกัน ให้มากำจัดมะเร็ง เกิดการตายของมะเร็งในที่สุด
6.1.3 Cetuximab (Erbitux)
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
ใช้รักผาามะเร็งที่ศีรษะและคอ และ มะเร็งลำไส้ส่วนกลาง colorectal cancer ชนิด squamous cell carcinoma
ผลข้างเคียงจากยา
ในระยะแรกอาจเกิด หายใจลำบาก และ ความดันต่ำ
กลไกการออกฤทธิ์ยา
จับกับ EGFR ทำให้ไม่สามารถรับสัญญาณที่ไปกระตุ้น การเจริญเติบโต ของเซลล์มะเร็งได้
6.1.1 Trastuzumab (Herceptin)
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
รักษามะเร็งเต้านมที่แพร่กระจายไปแล้ว
ผลข้างเคียงจากยา
หัวใจล้มเหลงคั่ง CHF เป็นผลข้างเคียงที่สำคัญผลข้างเคียงอื่นๆ เช่น คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง
กลไกการออกฤทธิ์ยา
จะจับกับ human epidermal is growth factor receptor 2 (HER-2) ซึ่ง receptor ชนิดนี้เกี่ยวข้องกับ tyrosine Kinase ที่มีมากในมะเร็งเต้านม ทำให้ HER2 receptor ไม่สามารถส่งสัญญาณไปกระตุ้นการเจริญเจิบโตของเซลล์มะเร็งได้
6.1.4 Alemtuzumab (Campath)
กลไกการออกฤทธิ์ยา
ไปจับกับ CD52 Cell ที่พบในเซลล์ปกติและ เซลล์มะเร็งB Cell หรือ T cellแล้วไปกระตุ้นให้เกิดการตอบสนอง ระบบภูมิคุ้มกัน ให้มาตอบสนอง ต่อเซลล์มะเร็ง
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาว ชนิด B-Cell chronic lymphocytic leukemia (Bcell)
ผลข้างเคียงจากยา
อาจทำให้เกิด Infusion reaction ซึ่งอันตรายต่อชีวิต เช่น ความดันต่ำอหลอดลมเกรองบวม angioedema เป็นต้น
6.2 ยา Small Molecule
6.2.1 Imatinib (Gleevec)
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
ใช้รักษา gastrointestinal stromab tumor ซึ่งเป็นมะเร็งสำไส้ที่พบได้น้อยและมะเร็งเมล็ดเลือดขาวleukemia โดย Imatinib จับเป็น small-molecule drug ที่สามารถผ่านเข้าสู้เยื้อหุ้มเซลล์ไปออกฤทธิ์ที่ target ได้โดยตรง
6.2.2 Dasatinib (Spracel)
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
ใช้รักผาามะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิด Chronic myeloid
leukemia and acute lymphoblastic leukemia และ นักษามะเร็งที่ดื้อยา Imatinib
กลไกการออกฤทธิ์ยากลุ่ม small molecules
ยับยั้งการทำงานของ เอนไซม์ไคเนส ที่มีความสำคัญ ต่อ การส่งสัญญาณให้เซลล์มะเร็ง เกิดการแบ่งเซลล์ ทำให้เกิดกระบวนการยับยั้งการเจริญเติบโตและแบ่งตัวของเซลล์และยับยั้งการสร้างหลอดเลทอดใหม่ในก้อนเนื้อสมอง ตัวอย่างเช่น. ยา imatinib , Gleevec, Dasatinib , Sprycel , Nilotinib Tasigna
6.2.3 Nilotinib (Tasigna)
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
ใช้รักษา chronic myeloid leukemia และ รักษามะเร็งที่ดี้อยาImatinib ได้
ปฎิกิริยาระหว่างยา
ยังยั้งเอนไซม์ CYP450 ,CYP2C9 และ CYP2D6 ถ้าใช้ร่วมกับยา Wafarin จะทำให้ ระดับยาเหล่านี้ ในกระแสเลือดสูง เกิดพิษได้
ยาต้านเชื้อราในกลุ่ม Azole และ Eruthomycin ลดการทำลายและขับยา Imatinib ทำให้ระดับยา Imatinib ในกระแสเลือดสูงขึ้น เกิดพิษได้
ผลข้างเคียงจากยากลุ่ม Small Molecule
-มีของเหลวคั่งในร่างกาย
พิษต่อตับ ใชทำให้บวมน้ำ
-เกล็ดเลือดน่ำ เลือดออกง่าย
-กดไขกระดูกทำให้เม็ดเลือดขาวชนิด Neutrophil เสี่ยงต่อการติดเชื้อได้ง่าย
-Dasatinib and Nilotinib ทำให้คลื่นไฟฟ้าหัวใจผิดปกติ QT prolongation จนทำให้หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ยากลุ่มอื่นๆ Other anticancer agents
7.1 Asparaginase
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
ใช้ในการรักษา ALLในเด็ก โดยใช้ร่วมกับ Vincristine and Prednisone
ผลข้างเคียงจากยา
-อาจเกิดปฏิกิรุนแรง อาจทำให้เสียชีวิตได้ ทำให้เกิดตับอ่อนอักเสบ พิษต่อตับ ชัด และ โคม่าได้
กลไกการออกฤทธิ์ยา
ยาจะไปเร่งปฏิกิริยา Hydrolysis ทำให้ เซลล์มะเร็งขาดสารจำเป็น ที่จะนำไปสร้างการเจริญเติบโต และ สร้างโปรตีน ทำให้เซลล์ไม่สามารถสังเคราะห์และสร้างตัวเองได้
7.2 Mitotane
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
ใช้รักษาระเร็งต่อมหมวกไตชั้นนอก Adrenocortisol Carson Oma
ผลข้างเคียงจากยา
-อาจทำให้เกิดอาการซึมเศร้า มึนศีรษะ มีผื่น รบกวนทางเดินอาหาร เช่น คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร อุจจาระร่วม เป็นต้น
และ ทำใ้ห้กล้ามเนื้ออ่อนแรง
กลไกการออกฤทธิ์ยา
รบกวนการทำงานของ ของmitochondria ในเซลล์ต่อมหมวกไตชั้นนอก ทำให้ฝ่อลงและสร้างcortisol
ยากดภูมิคุ้มกัน Immunosuppressive agents
อธิบาย
ยากดภูมิคุ้มกันหรือ ยากดภูมิต้านทาน หรือยากดภูมิคุ้มกันต้าทานเป็นกลุ่มยาที่ใช้เพื่อกดหรือลดความแข็งแรงของระบบภูมิคุ้มกัน ระบบภูมิคุ้มกันต้านทานโรค และ ระบบภูมิต้านทานในร่างกาย
กลุ่มยาที่มีพิษต่อเซลล์ (Cytotoxic Agents)
2.2 Mycophenolate mofetil (MMF) : Cellcept
กลไกการออกฤทธิ์
เมื่อยาเข้าสู่ร่างกาย จะถูกเปลี่ยนเป็น mycophenolic acid (MBA) มีฤทธิ์ยับยั้ง Enzyme Inosine monophosphate dehydrogenase , ส่งผลยับยั้งโปรตีนยามีผลยับยั้งกานแบ่งตัวของB,T lymphocytes
ผลข้างเคียงของยา
มีผลข้างเคียงที่ต่ำกว่า Azathioprine ที่พลได้แก่ กดไขกระดูกทำให้เม็ดเลือดขาวต่ำ เสี่ยงต่อการติดเชื้อ นอกจากนั้นยังรบกวนระบบทางเดินอาหาร เช่น ท้องร่วง อาเจียน
ผลข้างเคียงที่พบน้อย ความผิดปกติของระบบประสาทส่วนกลาง ตับอ่อนอักเสบ พิษต่อตา พิษต่อตับ มีผื่น ปวดกล้ามเนื้อ
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
ใช้ป้องกันและรักษา acute graft rejection (การปฏิเสธการปลูกถ่ายอวัยวะแบบเฉียบพลัน) ในผู้ป่วยที่ได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะร่วมกับยาตัวอื่นแทน Azthiopeine Mycophenolate
2.3 Sirolimus or Everolimus
กลไกการออกฤทธิ์
ยาไปยับยั้งการทำงานของ mammalian target of rapamycin : mTOR (ซึ่งเป็นเอนไซม์ kinase ที่สำคัญต่อการออกฤทธิ์ขอบ IL-2) ยับยั้งการการเจริญและแบ่งตัวของ T-cell ต่อ IL-2 (Sirilimus ไม่ได้ยับยั้งการสร้าง IL-2 เหมือนCyclosporin และ tacrolimus)
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
ใช้ป้องกันการเกิด Acute graft rejection (การปฏิเสธการปลูกถ่ายอวัยวะแบบเฉียบพลัน) โดยให้ร่วมกับ Cyclosporine และ Corticocosteroids นอกจากนี้ยังมียากลุ่มCytotoxic agents and anti proliferative ที่นำมาใช้กดการทำงานของระบบภูมิคุ้มกัน เช่น Methotrexate , Cyclophosphamind and Leflunomind เป็นต้น
ผลข้างเคียงของยา
กดไขกระดูก ทำให้เกล็ดเลือดต่ำ (Thrombocytopenia) และเม็ดเลือดขาวต่ำ (Leukemia) ทำให้ติดเชื้อง่ายซีด
หากใช้ยา Sirolimus with Cyclosporine จะทำให้พิษต่อไต ของ Cyclosporine สูงขึ้น และ ภาวะ ไขมันในเบือดสูงรุนแรงขึ้น
ภาวะโพแทเซียมต่ำในเลือด (hypokalemia)
2.1 Azathioprine (Imuran)
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการสร้าง DNA RNA and Protein ส่ง Active metabolite คือ 6 Thioinosinic Acid มีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ต่างๆ ในการสร้างสาร พิมรีนะ มีผลยับยั้งการสร้าง DNA และ ยับยั้งการแบ่งตัวของเซลล์
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
ใช้ร่วมกับยากลุ่ม Corticosteroids และ Cyclosporin Acid ในการรักษาแบบ triple therapy เพื่อป้องกัน acute graft rejection การปฏิเสธการปลูกถ่ายอวัยวะแบบเฉียบพลัน จากการปลูกถ่ายไต หรือ ตับ หรือ ใช้รักษาโรคภูมิคุ้มกันต้านทานตนเองหลายชนิด เช่น รูมาตอยด์ที่ไม่ตอบสนองต่อยา SLE โลหิตจาง และ เกล็ดเลือดออกง่าย
ผลข้างเคียงของยา
กดการทำงานของไขกระดูก
คลื่นไส้ อาเจียน เกิดพิษต่อตับ เมื่อใช้ในขนาดสูง
ตัวเหลืองตาเหลืองผมร่วงกล้ามเนื้ออ่อนแรงอ่อนเพลียผื่น
2.4 Leflunomide
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
รักษาโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์
ผลข้างเคียงของยา
-พิษต่อตับ พิษต่อไต ไม่ควรใช้ในผู้ป่วยที่มีโรคตับและโรคไต นอกจากนั้นยังมีพิษตรอทารกในครรภ์ด้วย
-กดไขกระดูก ทำให้เกล็ดเลือดต่ำ (Thrombocytopenia) และ เม็ดเลือดขาวดำ (leukemia) ทำให้ติดเชื้อง่าย
กลไกการออกฤทธิ์
ยาไปยับยั้งการสังเคราะห์ Pyrimidine ส่งผลให้การสังเคราะห์แชะการสร้างDNA and RNA ถูกยับยั้ง จึงทำให้มีฤทธิ์ต้านทานการอักเสบและต้านการเจริญเติบโตของเซลล์
กลุ่มสารยับยั้ง Cytokines (Cytokines inhibitors)
4.1 Anti-IL-2 receptor antibody
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์ยับยั้งการกระตุ้น lymphocyte ด้วย IL-2 ที่เป็น pathway สำคัญในการกระตุ้นภูมิคุ้มกันร่างกาย ทำให้เกิดการปฏิเสธการปลูกถ่ายอวัยวะแบบเฉียบพลัน
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
ใช้ในผู้ป่วยที่มีการปลูกถ่ายไต เพื่อเป็นการป้องกันการเกิด acute graft rejection หรือ การปฏิเสธ การปลูกอวัยวะแบบเฉียบพลัน โดยใช้ร่วมกับยาcyclosporine และ corticosteroids ในผู้ป่วยปลูกถ่ายไต
ผลข้างเคียงของยา
อาจพบการแพ้ยาได้ Hypersensitivity reaction
4.4 Anti-IgE mAbs
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
ใช้รักษาโรคหอบหืด ที่เกิดจากภูมิแพ้ ในผู้ป่วยที่ไม่ตอบสนองต่อการใช้ยากลุ่ม steroids ชนิดสุดพ่น
ผลข้างเคียงของยา
อาจเกิด anaphylactic reaction หลังจากได้รับยา 2 ชั่วโมง
เสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสเพิ่มขึ้น และ อาจเหนี่ยวนำทำให้เกิดมะเร็ง
อาจพบอาการปวดศีรษะ หรือ ปวดบริเณที่ฉีดยา
กลไกการออกฤทธิ์
ยาไปปิดกั้นการจับของ IgE กับ Fc receptor ส่งผลให้ลด การหลั่งสารที่ก่อให้เกิดแบบแพ้แบบ hypersensitivity ชนิดที่1 นอกจากนั้น ยายังทำให้ระดับ IgE ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น แม้ว่าจะหยุดยาไปแล้ว
4.3 Anti-TNF-alpha antibody
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
ใช้ในการรักษาโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ ร่วมกับยา Methothexate ให้ผู้ป่วยที่ไม่ตอบสนองต่อกลุ่มยา DMARDs นอกจากนั้นยังใช้ Cron’s กรณีที่ไม่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาอื่น
ผลข้างเคียงของยา
-กดไขกระดูก ทำให้เสี่ยงต่อการติดเชื้อได้ง่าย เช่น วัณโรค หรือ การติดเชื้อทางเดินหายใจ
-พบปฏิกิริยาบริเวณที่ฉีดยา เช่น ผื่นแดง คัน ปวดและบวม
-อาจพบอาการ ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน
กลไกการออกฤทธิ์
เป็น Antibodies ที่จับกับ TNF-Alpha ซึ่งเป็น Cytokine ที่เหนี่ยวนำให้เกิดการอักเสบ เช่น IL-1 , IL-6 และกระตุ้นการเคลื่อนตัวของเม็ดเลือดขาว
4.5 Anti-lymphocyte globulin (ATG) and Antilymphocyte globulin (ALG): Lymphoglobulin , Thymglobulin
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
ใช้รักษาภาวะปฏิเสทการปลูกถ่ายไต แบบเฉียบพลัน Acute renal transplant response ในผู้ป่วยที่ได้รับการปลูกถ่าย นิยมใช้ร่วมกับยากดภูมิคุ้มกันะอื่นๆ
ผลข้างเคียงของยา
มักมีไข้ หนาวสั่น ภาวะเม็ดเลือดขาวต่ำ เกล็ดเือดต่ำ และ ตุ่มตามผิวหนังและปวดข้อ เกิดการติดเชื้อไวรัส และ แบคทีเรียได้สูง
กลไกการออกฤทธิ์
ยาออกฤทธิ์โดยจับกับโมเลกุลบนพื้นผิว T-cell ทำให้ลดการแบ่งตัว ยับยั้งการกระตุ้นและเกิดการทำลาย T cell ยาออกฤทธิ์กดภูมิคุ้มกันแบบ Cell-mediated แบ่งตัว ยับยั้งกาตกระตุ้นและเกิดการทำลาย T cell ยาออกฤทธิ์แรง กดภูมิคุ้มกันอื่นๆ และ ใช้รักษาโรคไต กระดูกฝ่อ
4.2 Anti-CD2
กลไกการออกฤทธิ์
ยาออกฤทธิ์โดยจับกับ CD2 บนพื้นผิวT Cell ทำให้ลดการแบ่งตัว ยับยั้งการกระตุ้นและ เกิดการทำลยาT Cell และ จำนวนT Cell ในกระแเสเลือดลดลง
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
ใช้รักษาผู้ป่วยโรคสะเก็ดเงิน proriasis
ผลข้างเคียงของยา
อาจพบอาการไข้ หนาวสั่น ปวดกล้ามเนื้อ ติดเชื้อง่าย Cytokine release syndrome และ ห้ามใช้ยานี้ในผู้ป่วย HIV
กลุ่มออกฤทธิ์ยับยั้ง Enzyme Calcineurin inhibitor
1.1 Cyclosporin A (CsA)
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
ป้องกัน และ รักษา Acute graft rejectionการปฏิเสธการปลูกถทายอวัยวะแบบเฉียบพลัน ในผู้ป่วยปลูกถ่ายไต หัวใจ ปอดและตับโดยนิยมให้ร่วมกับยากลุ่ม corticosteroids and cytotoxic agents or mTOR inhibitor หรือ ป้องกันและรักษา GVHD ในผู้ป่วยที่ปลูกถ่ายไขกระดูกโดยนิยมให้ร่วมกับ Corticosteroids หรือ ใช้รักษาโรคภูมิคุ้มกันต้านตนเองหลายชนิด เช่น โรคข้อกระดูกอักเสบรูมาตอยด์ โรคเรื้อนกวาง และ ม่านตาอักเสบ
ผลข้างเคียงของยา
-พิษต่อไต ขึ้นกับขนาดยาที่ให้ และ ระดับยาในเลือด
พิษต่อระบบประสาท เช่น แขน ขา สั่น
อาจทำให้ความดันโลหิตสูง น้ำตาลในเลือดสูง ไขมันในเลือดสูง การทำงานของรับผิดปกติ เหงือกบวม และ ขนดก
ยามีฤทธิ์กดไขกระดูกเพียงเล็กน้อย จึงทำให้เสี่ยงต่อการติดเชื้อได้น้อยกว่ายากดภูมิคุ้มกันตัวอื่น/ เมื่อใช้นานๆ
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้ง เอนไซม์ calcineutin ส่งผลยับยั้งการสร้างและการหลั่ง IL-2 จาก T-cell ที่จะไปกระตุ้นการแบ่งตัว ของ T-cell และกลายเก(ยังCytotoxic T lymphocyte : CTL ) ส่งผลให้ T Cell lymphocyte activation ลดลง
1.2 Tacrolimus (FK506)
กลไกการออกฤทธิ์
ออกเหมือน cyclosporin แต่ เป็นยาใหม่กว่าCyclosporin และ แรงกว่า Cyclosporin 100 เท่า
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
ใช้แทน Cyclosporin ในการรักษาผู้ป่วยที่ได้รับปลการปลูกถ่ายอวัยวะ เนื่องจากมีผลข้างเคียงน้อยกว่าและลดขนาดของยา corticosteroids ที่ใช้ร่วมด้วยได้
ผลข้างเคียงของยา
คล้าย Cyclosporin แต่ยาไม่ทำให้เหงือและขนดก
ยามีพิษต่อระบบประสาทซึ่งพบได้บ่อยกว่า cyclosporin เช่น ปวดศีรษะ สั่น นอนไม่หลับ ชัก นอกจากนั้นอาจพบผมร่วงได้
3.กลุ่ม Adrenocoticoids
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
ในด้านการกดภูมิคุ้มกัน หากใช้ในขนาดสูง สามารถนำไปใช้กดอาการแสดงของโรคภูมิคุ้มกัน เช่น โรคภูมิแพ้ตนเอง SLE ใช้ร่วมกันยากดภูมิคุ้มกันชนิดอื่นๆ เพื่อป้องกันและรักษาการต้านเนื้อเยื่อจากการปลูกถ่ายวลอวัยวะ ใช้รักษาภาวะผู้รับปฏิเสธเซลล์ของผู้ให้ ในการปลูกถ่ายไขกระดูก มีการใช้ prednisolone and methyprednisolone
ผลข้างเคียงของยา
เหมือนกับยา Steroid โดยความรุนแรงของผลข้างเคียงกับขนาดและระยะเวลาในการใช้ยา เพื่อลดผลข้างเคียง ควรให้ยา corticosteroids ร่วมกับยาอื่น เช่น cyclosporine จะช่วยลดขนาดการให้ยากลุ่ม corticosteroids
กลไกการออกฤทธิ์
การออกฤทธิ์ยาจะไปควยคุมการทำงานของ gene โดยการจับกับ steroid receptor ภายในเซลล์ได้เป็น drug-receptor complex ไปออกฤทธิ์ที่นิวเคลียสโดยไปยับยั้งการสร้าง mRNA ของโปรตีนหลายชนิด เช่น กดการทำงานของเซลล์macrophage , T,B lymphocyte ยับยั้งการแบ่งตัวของเซลล์ lymphocyte ยับยั้งการทำงานของ cytokines หลายชนิด ทำให้จำนวน lymphocyte ในกระแสเลือดลดลงได้ ทันที และ ได้นานถึง 24 hr.
โดยทำให้เซลล์ lymphocyte เคลื่อนย้ายออกจากกระแสเลือด มีผลต่อการเคลื่อนย้าย T-cell มากกว่า B Cell ฤทธิ์ลดการอักเสบที่มีส่วนช่วยในการรักษา
นางสาวพลินี จำปา 19A 6201210378🌈✨🩺💤