Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสุขภาพอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ - Coggle Diagram
การส่งเสริมสุขภาพอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ
ส่งเสริมสุขภาพอนามัย
หมายถึงหลักการและความรู้ของการคงไว้หรือรักษาไว้ซึ่งสุขภาพและการป้องกันโรคโดยการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆในการส่งเสริมความสะอาดเพื่อคงไว้ซึ่งการมีสุขภาพที่ดี
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
สุขอนามัยส่วนบุคคล
หมายถึงเรื่องราวที่ว่าด้วยการดูแลปรับปรุงส่งเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรงโดยไม่เป็นโรคและมีการปฏิบัติตนให้อยู่ในภาวะที่ปลอดภัยซึ่งรวมทั้งการป้องกัน การแพร่กระจายของเชื้อโรคทั้งจากตนเองไปสู่ผู้อื่นและการรับเอาเชื้อจากภายนอกเข้ามาสู่ตัวเอง
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขอนามัยส่วนบุคคล
อายุ
เพศ
ภาวะสุขภาพ
การศึกษา
เศรษฐกิจ
อาชีพ
ถิ่นที่อยู่
ภาวะเจ็บป่วย
สิ่งแวดล้อม
ขนบธรรมเนียมประเพณีและความเชื่อ
ความชอบ
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
หมายถึงการดูแลความสะอาดและสุขภาพของผิวหนังผมเล็บปากฟันตาหูจมูกและอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของตนเอง
ความสำคัญของการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
Bathing
เป็นกิจวัตรประจำวันของมนุษย์เพื่อชำระสิ่งสกปรกออกจากร่างกาย
ใช้น้ำเป็นตัวช่วยกิจกรรมที่ทำร่วมกับการอาบน้ำ
ประกอบด้วย
การล้างหน้า
การแปรงฟัน
การสระผม
ผลของการอาบน้ำ
ร่างกายสะอาด
สดชื่น
รู้สึกสุขสบาย
ชนิดของการอาบน้ำ
Complete bed bath
Sponge bath in the sink
Partial bed bath
Tub bath
Shower
Bag bath/Travel bath
การพยาบาลในช่วงเวลาต่างๆ
การพยาบาลตอนเช้าตรู่
การพยาบาลตอนเช้า
การพยาบาลตอนบ่ายหรือตอนเย็น
การพยาบาลตอนก่อนนอน
การพยาบาลเมื่อผู้ป่วยต้องการ
การดูแลความสะอาดของผิวหนัง
วัตถุประสงค์ของการดูแลความสะอาดของผิวหนัง
อาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงชนิดสมบูรณ์
จุดประสงค์การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงเพื่อ
กำจัดสิ่งสกปรกที่สะสมบนผิวหนังหรือส่งเสริมความมั่นใจให้กับตัวเอง
ให้ผู้ป่วยรู้สึกสบายหรือสดชื่นและผ่อนคลาย
ประเมินการเคลื่อนไหวของร่างกายและส่งเสริมการออกกำลังกายในข้อต่างๆ
สังเกตความผิดปกติของผิวหนัง
กระตุ้นการไหลเวียนของโลหิตและป้องกันแผลกดทับ
การอาบน้ำผู้ป่วยเฉพาะบางส่วน
การอาบน้ำที่ห้องน้ำ
การนวดหลัง
หลักการนวดหลัง
1.จัดท่าให้ผู้ป่วยสุขสบาย
2.ไม่นวดบริเวณที่มีการอักเสบมีแผลกระดูกหักผู้ป่วยโรคหัวใจภาวะมีไข้โรคผิวหนังโรคมะเร็งระยะลุกลามแพร่กระจาย
ไม่นวดแรงเกินไปจนผู้ป่วยเจ็บ
นวดเป็นจังหวะสม่ำเสมอ
เลือกใช้แป้งหรือโลชั่นหรือครีมเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง
ใช้เวลานวดประมาณ 5 - 10 นาที
Stroking
เป็นการลูบหลังตามแนวยาวใช้ฝ่ามือทั้งสองข้างวางไว้ที่บริเวณก้นกบค่อยค่อยลุกขึ้นตามแนวกระดูกสันหลังจนถึงต้นคอให้น้ำหนักกดลงไปที่ปลายนิ้วแล้วออกมาที่ไหล่ สีข้างและตะโพกทำช้าๆ
ทำประมาณ3-5ครั้ง
Friction
เป็นการใช้ฝ่ามือลูบแบบถูไปมาตามแนวยาวของกล้ามเนื้อไหล่ กล้ามเนื้อสีข้างทั้งสองข้างนิ้วชิดกันวางฝ่ามือทั้งสองข้างลงบนกล้ามเนื้อแล้วถูกลงสลับกันไปมาตามกล้ามเนื้อ
ทำอย่างน้อย 12 ครั้ง
Kneading
เป็นการบีบนวดกล้ามเนื้อ
Beating
เป็นการกำมือหลวมหลวมทุกเบาเบาบริเวณกล้ามเนื้อ แก้มก้น
ใช้กำมือหลวมหลวมทั้งสองข้างทุบเบาๆและเร็วๆสลับขึ้นลงบริเวณกล้ามเนื้อแก้มก้น
ทำอย่างน้อย 12 ครั้ง
Hacking
เป็นการใช้สันมือจับเบาๆ
ใช้สัญมือด้านนิ้วก้อยสับสลับกันเร็วๆโดยการกระดกข้อมือสับขวางตามเหยื่อกล้ามเนื้อบริเวณสะโพกก้นและต้นขา
ทำซ้ำประมาณ 10 ครั้ง
Clapping
เป็นการใช้อุ้งมือตบเบาๆ
โดยขอมือให้ไปนิ้วชิดกันทั้งสองข้างให้เกิดช่องว่างระหว่างตรงกลางฝ่ามือตบเบาไสลับมือกันโดยกระดกข้อมือขึ้นลงบริเวณหลัง
ทำซ้ำประมาณ 10 ครั้ง
การลูบตัวลดไข้
เป็นการระบายความร้อนออกจากร่างกาย
ใช้น้ำเป็นตัวกลางในการพาความร้อนออกจากร่างกายผู้ป่วย
การเช็ดตัวด้วย น้ำธรรมชาติจะทำให้ผู้ป่วยรู้สึกสบายตัวและกระตุ้นการไหลเวียนของเลือดบริเวณผิวหนัง
จุดประสงค์เพื่อ
ลดอุณหภูมิในร่างกายช่วยป้องกันอาการชัก
เนื่องจากมีไข้สูง
ช่วยกระตุ้นให้การไหลเวียนเลือดและอวัยวะทำงานดีขึ้น
ช่วยให้ประสาทคายความตึงเครียดผ่อนคลายและลดอาการกระสับกระส่าย
การดูแลความสะอาดปากและฟัน
วัตถุประสงค์เพื่อ
ปากและฟันสะอาดมีความชุมเฉิน
กำจัดกินปากลมหายใจสดชื่นป้องกันฟันผุ
ลดการอักเสบของเหงือกกระพุ้งแก้ม
สังเกตฟันเหงือกกระพุ้งแก้มลิ้นมีแผลหรือการติดเชื้อหรือเลือดออกหรือฝ้าในช่องปาก
การดูแลความสะอาดของเล็บ
จุดประสงค์เพื่อ
เล็บสะอาดและสุขสบาย
ป้องกันการเกิดเล็บขบ
การดูแลความสะอาดของตา
จุดประสงค์เพื่อ
การจัดขี้ตาทำให้ดวงตาสะอาด
ความสุขสบายของผู้ป่วย
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ป่วย
การดูแลทำความสะอาดของหู
จุดประสงค์เพื่อ
กำจัดสิ่งสกปรกภายในช่องหู
ทำความสะอาดใบหูและหลังใบหู
การดูแลความความสะอาดของจมูก
จุดประสงค์เพื่อ
กำจัดสิ่งขับถ่ายและสิ่งสกปรกภายในจมูก
ปกป้องสารคัดหลั่งแห้งยึดขนจมูกกลับสายที่คาไว้
ป้องกันการเกิดแผลกดทับที่ด้านในรูจมูกจากสายที่คาไว้
การดูแลความสะอาดของเส้นผมและหนังศีรษะ
วัตถุประสงค์เพื่อ
ขจัดความสกปรกและสารที่ใส่บนผมและหนังศีรษะ
เพื่อการตรวจรักษา
ความสุขสบายและสดชื่นของผู้ป่วย
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ป่วยและความรู้สึกที่มีความมั่นใจ
การทำความสะอาดอวัยวะเพศ ภายนอกหญิง
เป็นการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ ภายนอกและบริเวณใกล้เคียง
เช่น
บริเวณทวารหนัก
ขาหนีบ
ฝีเย็บ
หลังจากถ่ายปัสสาวะหรืออุจจาระ
เรียกสั้นสั้นว่า P- care หรือ flushing
ปกติจะชำระให้วันละ1-2ครั้ง
วัตถุประสงค์เพื่อ
การจัดสิ่งขับถ่ายสิ่งสกปรกและกลิ่นไม่พึงประสงค์
ลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่ได้รับการสวนปัสสาวะคาไว้
เสริมสร้างความสุขสบายให้กับผู้ป่วย
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกชาย
จัดให้ผู้ป่วยนอนหงายแล้วเปิดเฉพาะอวัยวะสืบพันธุ์เท่านั้น
กระบวนการพยาบาลในการดูแลสุขอนามัย ส่วนบุคคลของผู้ป่วย
การประเมินภาวะสุขภาพ
S
เป็นสิ่งที่ผู้ป่วยเป็นคนบอกว่ารู้สึกยังไง หรือเป็นญาติหรือเป็นผู้ที่มาส่งผู้ป่วยเป็นคนบอก
O
เป็นสิ่งที่สังเกตได้ตายจากการรู้สึกหรือได้จากการตรวจสอบ
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
ไม่สามารถดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลประจำวันได้เนื่องจากมีภาวะความเสื่อมและไม่สนใจตัวเอง
ข้อมูลสนับสนุนคือผู้สูงอายุป่วยด้วยโรค อัลไซเมอร์
การวางแผนการพยาบาล
วัตถุประสงค์เพื่อ
ให้ผู้ป่วยมีความสุขสบายจากการได้รับการอาบน้ำและสระผมบนเตียง
เกณฑ์การประเมินผล
ผู้ป่วยรู้สึกสุขสบายจากการได้รับการอาบน้ำและสระผมบนเตียง
ผู้ป่วยมีความพึงพอใจจากการได้รับการอาบน้ำและสระผมบนเตียง
การวางแผน
วางแผนให้การดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลประจำวัน
จัดเตรียมอุปกรณ์อาบน้ำและสระผมบนเตียงให้ครบแล้วนำไปที่เตียงผู้ป่วย
จัดเตรียมเสื้อผ้าชุดใหม่ผ้าปูและปลอกหมอนอย่างละ 1 ชุด
การปฏิบัติการพยาบาล
บอกผู้ป่วยให้ทราบ
ให้บริการสระผมให้ผู้ป่วยตามขั้นตอนของการสระผมผู้ป่วยบนเตียง
ให้บริการอาบน้ำบนเตียงให้ผู้ป่วยตามขั้นตอนของการปฎิบัติอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียง
เปลี่ยนเสื้อผ้าผ้าปูที่นอนและปลอกหมอนให้ใหม่
เก็บของใช้เข้าที่ให้เรียบร้อย
ลงบันทึกการพยาบาล
การประเมินผลการพยาบาล
ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วย
สังเกตจากสีหน้าท่าทางของผู้ป่วย
ประเมินความสะอาดเส้นผม
สังเกตเส้นผมสลวยและมีกลิ่นหอมสดชื่น
ประเมินความสะอาดผิวหนังของร่างกาย
สังเกตจากความสะอาดของผิวหนังชุ่มชื้นและมีกลิ่นหอม
ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
ประเมินการปฎิบัติถูกต้องครบและเป็นไปตามขั้นตอนของการปฎิบัติ
ประเมินการจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ครบถ้วนเพียงพอหรือไม่
ประเมินผลคุณภาพการบริการ
ประเมินคุณภาพของการให้บริการว่าอยู่ในระดับใด
การพักผ่อนนอนหลับ
ความสำคัญ ของการพักผ่อนและการนอนหลับ
สร้างเสริมการเจริญเติบโตซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
ซ่อมแซมและสร้างเนื้อเยื่อขึ้นมาใหม่
สงวนพลังงาน
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และ ความจำ
ควบคุมอุณหภูมิร่างกาย
ผลกระทบจากปัญหาการนอนหลับ
ร่างกาย
สังคม
จิตใจอารมณ์
สติปัญญาและการรับรู้
การพักผ่อน
คือการผ่อนคลายและมีความสงบทางจิตใจและร่างกายไม่วิตกกังวลหรือผ่อนคายโดยไม่มีอารมณ์เครียดทางอารมณ์
การพักผ่อนของผู้ป่วยในโรงพยาบาล
Absolute bad rest
Bed rest
การนอนหลับ
เป็นกระบวนการทางสรีระวิทยาพื้นฐานที่สอดประสานกับจังหวะการทำงานของร่างกายด้านอื่นๆ
สรีระวิทยาของการนอนหลับและวงจรการนอนหลับ
การทำงานของ สมองส่วน Medulla ,Pons และสมองส่วนกลางรวมถึงการสมอง
กระตุ้นให้สมองทำหน้าที่ตอบสนองสิ่งเร้ารวมถึงการนอนหลับการตื่นและวงจรการหลับตื่น
ระยะของการนอนหลับ
แบ่งเป็น 2 ชนิด
การนอนหลับชนิดไม่มีการเคลื่อนไหวของลูกตาอย่างรวดเร็ว
มีทั้งหมด 4 ระยะ
ระยะที่ 1 จะมีความถี่ของเครื่องไฟฟ้าสมองอย่างช้าๆแต่ปรากฏขึ้นมียอดแหลมลูกตาจะกลอกช้าๆ จากด้านหนึ่งไปยังอีกด้านหนึ่ง
มักใช้เวลาในระยะนี้ประมาณ 10 นาที
ระยะที่ 2 ยังเป็นการนอนหลับแบบไม่ลึกหรือเป็นระยะที่เริ่มหลับและการกลอกลูกตาช้าๆ จะหายไป ขึ้นไฟฟ้าสมองจะช้าลงและผู้ใหญ่ร้อยละ 50 ของคนปกติ
อาจใช้เวลาในระยะนี้ประมาณ 20 นาทีหรือมากกว่านั้น
ระยะที่ 3 เป็นการหลับลึกปานกลาง
ระยะที่4 เป็นการหลับลึกที่สุด
การนอนหลับชนิดมีการเคลื่อนไหวของลูกตาอย่างรวดเร็ว
เกิดขึ้นหลังจากการเริ่มนอนหลับชนิดไม่มีการเคลื่อนไหวของลูกตาอย่างรวดเร็วลักษณะประมาณ 90 นาทีหรืออาจจะมากกว่านั้นในวัยผู้ใหญ่
มีการกลอกลูกตาอย่างรวดเร็ว
อัตราการเต้นของหัวใจสูงกว่าเวลาตื่นนอนและการหายใจไม่สม่ำเสมอ
กล้ามเนื้อต่างๆรวมถึงใบหน้าและคอจะย้อนเพราะร่างกายไม่ได้เคลื่อนไหว
ระยะนี้จะมีช่วงเวลายาวนานการฝันจากประมาณ 80%
วงจรการนอนหลับ
ลำดับของการนอนหลับจะเริ่มจาก 4 ระยะของการนอนหลับชนิดไม่มีการกลอกลูกตายอย่างรวดเร็วและเข้าสู่ระยะที่ 3 แล้วระยะที่ 2ซึ่งผ่านไปในระยะแรกของการนอนหลับชนิดที่มีการเคลื่อนไหวของลูกตาอย่างรวดเร็ว
ระยะเวลาของวงจรการนอนโดยทั่วไปจะอยู่ระหว่าง 70 ถึง 90 นาที
สรีระวิทยาของการนอนหลับ
ในขณะที่นอนหลับร่างกายจะมีเหงื่อออกมากปัสสาวะเข้มข้นขึ้นแม้จะลดสิ่งต่อไปนี้
การผลิตความร้อนลดลง 10 ถึง 15%
อุณหภูมิของร่างกายลดลง 0.5 ถึง 1.0 ฟาเรนไฮต์
ความดันเลือดซิสโตลิคจะลดลง 20 ถึง 30 mmHg ขณะหลับสนิท
จำนวน ปัสสาวะลดลง
กล้ามเนื้อและเส้นเอ็นต่างๆคล้ายตัว
ปัจจัยที่มีผลต่อการพักผ่อนและการนอนหลับ
ปัจจัยภายใน
ปัจจัยภายในส่วนบุคคล
อายุ
เพศ
ความไม่สุขสบาย
ความเจ็บปวด
การใส่สายยางและท่อระบายต่างๆ
ท่านอนที่ไม่เหมาะสม
อาการคลื่นไส้อาเจียน
ภาวะไข้หลังผ่าตัด
ความวิตกกังวล
เสียง
อุณหภูมิ
แสง
ความไม่คุ้นสถานที่
กิจกรรมพยาบาล
อาหาร
ยา
การประเมินคุณภาพการนอนหลับ
การประเมินคุณภาพการนอนหลับเชิงปริมาณ
ระยะเวลาตั้งแต่เข้านอนจนกระทั่งหลับ
ระยะเวลาการนอนหลับในแต่ละคืน
จำนวนครั้งที่ถูกรบกวนขณะนอนหลับ
ประสิทธิภาพในการนอนหลับ
การประเมินคุณภาพการนอนหลับเชิงคุณภาพ
ใช้การประเมินความรู้สึกต่อการนอนหลับ
หลับดีหรือหลับแย่หลับเพียงพอไม่เพียงพอหลับลึกหรือหลับตื่น
การประเมินคุณภาพการนอนหลับเชิงคุณภาพ
หลับสนิทหรือหลับไม่สนิทสดชื่นหรือไม่สุดชื่นหรืออ่อนเพียนอนอิ่มหรือนอนไม่อิ่ม
ใช้แบบประเมินแบบแผนการนอนหลับ
เป็นแบบแผนที่ 5 ของแบบประเมินภาวะสุขภาพ 11 แบบแผนของกอร์ดอนซึ่งหมายถึงแบบแผนเกี่ยวกับการพักผ่อนการนอนการผ่อนคายความเครียดใน 24 ชั่วโมงรวมถึงยาและกิจกรรมที่ช่วยทำให้นอนหลับอีกด้วย
การนอนหลับที่ผิดปกติ
อินซอมเนีย
พบบ่อยที่สุด
การนอนหลับยากเข้านอนแล้วกว่าจะหลับใช้เวลานาน
การนอนหลับแบบหลับหลับตื่นตื่นหรือตื่นบ่อย
การตื่นเร็วเกินไปหรือตื่นง่าย
ชนิดและสาเหตุของการนอนหลับไม่เพียงพอ
การนอนหลับไม่เพียงพอชั่วคราว
เป็นช่วงเวลาสั้นสั้น 3 - 5วันร่างกายปรับตัวได้อาการนอนไม่หลับก็จะหายไป
การนอนหลับไม่เพียงพอแบบเรื้อรัง
เป็นการนอนหลับไม่เพียงพอเกิดขึ้นนานกว่าหนึ่งเดือนขึ้นไป
การนอนหลับระยะสั้น
Hypersomnia
การนอนหลับมากกว่าหรือง่วงมากกว่าปกติแสดงออกในแง่ของการนอนหลับในสถานที่ที่ไม่ควรนอน
Parasomnia
เป็นพฤติกรรมที่ควรเกิดขณะตื่นแต่กลับเกิดขณะหลับ
ความผิดปกติของการตื่น
อาการสับสน
ละเมอเดิน
ฝันร้าย
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงจากหลับมาตื่นจากตื่นมาหลับ
อาการกระตุกขณะกำลังหลับ
ศรีษะโขกกำแพง
ละเมอพูด
กลุ่มอาการที่เกิดขึ้นขณะหลับชนิดที่มีการกลอกตาภาวะฝันร้ายหรือภาวะผีอำ
กลุ่มอื่นๆ
เช่น
การไหลตาย
การกรน
การปัสสาวะรดที่นอนขณะหลับ
ผลที่เกิดจากการนอนหลับผิดปกติ
ผลจากการนอนไม่เพียงพอในการนอนชนิด NREM
ผลจากการนอนไม่เพียงพอในการ นอนชนิดREM
ผลในภาพรวมจะทำให้การทำงานของร่างกายขาดประสิทธิภาพจากการที่ร่างกายอ่อนล้าและขาดสมาธิ
การส่งเสริมการนอนหลับและความปลอดภัยขณะนอนหลับ
การจัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมและมีความปลอดภัย
การจัดท่าทางสำหรับผู้ป่วย ความสุขสบาย
การส่งเสริมให้ผู้ป่วยผ่อนคลาย
สิ่งแวดล้อมที่ดี
การทำเตียงชนิดต่างๆ
การทำเตียงว่าง
การทำเตียงผู้ป่วยลุกจากเตียงได้
การทำเตียงผู้ป่วยลุกจากเตียงไม่ได้
การทำเตียงผู้ป่วยรับผู้ป่วยหลังผ่าตัดและผู้ป่วยที่ได้รับยาสลบ
กระบวนการการพยาบาลในการส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
การประเมินภาวะสุขภาพ
วิถีชีวิตและพฤติกรรมการนอนกลางวัน
วิถีชีวิตและพฤติกรรมการนอนหลับ
สิ่งที่ช่วยให้นอนหลับ
ปัญหาในการนอนหลับและการแก้ไขปัญหา
สาเหตุที่ทำให้นอนไม่หลับและการแก้ไข
กิจกรรมหรือพฤติกรรมที่ช่วยลดความเครียด
สังเกตุอาการแสดงของผู้ป่วยว่านอนหลับเพียงพอหรือไม่เพียงพอ
สัมภาษณ์อาการที่แสดงว่านอนหลับเพียงพอหรือไม่เพียงพอ
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
ตัวอย่าง
พักผ่อนไม่เพียงพอเนื่องจากนอนไม่หลับในเวลากลางคืน
ข้อมูลสนับสนุน
ผู้ป่วยบ่นนอนไม่หลับตื่นบ่อยตื่นเช้ากว่าปกติรู้สึกไม่สดชื่นมีการเปลี่ยนพฤติกรรมเช่นอยู่ไม่สุข ง่วงนอน ทำงานได้น้อยลง ขี้หลงขี้ลืม
การวางแผนการพยาบาล
เป็นการวางแผนให้ผู้ป่วยได้นอนหลับพักผ่อนได้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
การพยาบาล
การประเมินผลการพยาบาล