Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 การสร้างเสริมสุขภาพในครอบครัว - Coggle Diagram
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9
การสร้างเสริมสุขภาพในครอบครัว
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเสริมสร้างครอบครัว
ปัจจัยภายใน (Internal factor)
ชนิดและระยะพัฒนาการ
การประเมินครอบครัว (Family assessment)
ระยะมีบุตรวัยเรียน (6-13 ปี)
ระยะมีบุตรวัยรุ่น (13-20ปี)
ระยะมีบุตรวัยก่อนเรียน (2.5-5 ปี)
ระยะเริ่มครอบครัวใหม่ (บุตรคนแรกแยกตัวออกมามีอาชีพของตน )
ระยะเริ่มเลี้ยงดูบุตร (0-2.5 ปี)
ระยะครอบครัววัยกลางคน (บุตรส่วนใหญ่แยกครอบครัวออกไป)
ระยะครอบครัวเริ่มต้น เป็นระยะนับจากเริ่มสมรส
ระยะครอบครัววัยชรา
รูปแบบและโครงสร้างของครอบครัว
ชนิดของครอบครัว
การอยู่อาศัยของคู่สมรส
มารดาฝ่ายชาย (Patrilocal family)
มารดาฝ่ายหญิง (Matrilocal family)
ครอบครัวที่คู่สมรสใหม่(Neolocal family)
ความเป็นใหญ่ในครอบครัว
ภรรยาเป็นใหญ่ (Matricheal family)
เป็นใหญ่เท่าเทียมกัน (Equalitarian family)
สามีเป็นใหญ่ (Patricheal family)
โครงสร้าง
ครอบครัวเดี่ยว (Nuclear family)
ครอบครัวขยาย (Extend family)
ความสัมพันธ์ทางสายโลหิต
นามสกุลฝ่ายบิดา (Patrilineal family)
นามสกุลฝ่ายมารดา (Matrilineal family)
วิถีชีวิตครอบครัว
วัฒนธรรม บรรทัดฐาน รสนิยม ศาสนาและจิตวิญญาณ รวมถึง รูปแบบบทบาทของครอบครัว (family role model) ตัวอย่างเช่น ครอบครัวที่สามารถยืดหยุ่น และปรับตัวต่อสถานการณ์ต่างๆในชีวิตประจำวันได้ดี มีรสนิยมในการดำรงชีวิตในด้านต่างๆที่เหมาะสม เช่น การรับประทานอาหารสุขภาพ การออกกำลังกายและนันทนาการ งดสิ่งเสพติดในทุกรูปแบบ
กระบวนการครอบครัว
การสื่อสารและการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกซึ่งเกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน โดยอาศัยทั้งการสื่อสารด้วยวาจาและภาษาท่าทาง ซึ่งสามารถถ่ายทอดความคิด ความรู้สึก ค่านิยม ความเชื่อ การตัดสินใจในการปฏิบัติเพื่อการดูแลสุขภาพของสมาชิกภายในครอบครัว เช่น การที่สมาชิกวัยผู้ใหญ่ในครอบครัวไม่รับประทานอาหารไขมันสูง ไม่ดื่มเหล้า หรือเสพของมึนเมา
ปัจจัยภายนอก (External factor)
การเมือง
บรรทัดฐานของสังคม
เศรษฐกิจ
สถานการณ์การเจ็บป่วยและผู้พิการ
จำนวนผู้สูงอายุ โรคเรื้อรัง เช่น HT 31%, DM 13%, Heart 7%, โรคทางสมอง
การใช้เทคโนโลยีระดับสูงมากขึ้น
ภาระรับผิดชอบของสมาชิกในครอบครัว
ขาดความเป็นส่วนตัว ซึมเศร้า แยกตัวออกจากสังคม
ผลกระทบต่อภาวะเจ็บป่วยต่อครอบครัว/ผู้พิการ
ภาวะสูญเสียพลังอำนาจ
ภาวะสูญเสียภาพลักษณ์
ภาวะเครียดและวิตกกังวลต่อความก้าวหน้าของโรคของผู้ป่วย
ภาวะซึมเศร้าและแยกตัว
ภาวะเศร้าโศกสูญเสีย
ทุกข์ทรมานทางจิตวิญญาณ
ปัจจัยที่ทำให้บริการสุขภาพที่บ้านมีคุณภาพ
3 มีการทำงานเป็นทีมหรือที่เรียกว่าเที่ยงสุขภาพแบบครบวงจร
4 มีการเตรียมความพร้อมสำหรับผู้ป่วยและครอบครัวเพื่อการดูแลที่บ้าน
2 มีบุคลากรและงบประมาณที่เพียงพอในการดำเนินการ
5 มีระบบส่งต่อและการวางแผนจำหน่ายที่มีประสิทธิภาพ
1 มีหน่วยงานรับผิดชอบที่
6 เปิดโอกาสให้ภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการ
แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการเจ็บป่วยเรื้อรัง (Trajectory phase)
เฉียบพลัน
วิกฤต
อาการไม่คงที่
พักฟื้น
อาการคงที่
อาการ ทรุดลง
เริ่มแสดงอาการ
ใกล้ตาย
ก่อนเจ็บป่วย
เสียชีวิต
ความต้องการการดูแลของครอบครัวที่มีผู้เจ็บป่วย/พิการ
ความต้องการการสนับสนุนช่วยเหลือด้านจิตสังคม
ความต้องการด้านสถานที่และอุปกรณ์
ความต้องการการเตรียมด้านความรู้ ความเชื่อ
ความต้องการรูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพองค์รวมที่ยั่งยืน
บทบาทครอบครัวในการดูแลผู้เจ็บป่วยหรือผู้พิการ
การแสวงหาวิธีการรักษา
ส่งสมาชิกเข้ารักษาในสถานบริการ
การประเมินการเจ็บป่วย
ตอบสนองการเจ็บป่วยเฉียบพลันโดยผู้ป่วยและครอบครัว
การแสดงอาการเจ็บป่วย
ระยะปรับตัวต่อการเจ็บป่วยและพักฟื้น
การสร้างเสริมสุขภาพ
จัดระบบครอบครัวใหม่
กระบวนการพยาบาลครอบครัว
การวางแผนการพยาบาล
การปฏิบัติการดูแลครอบครัว
การวินิจฉัยปัญหาครอบครัว
การประเมินผลการดูแลครอบครัว
การประเมินครอบครัว
จัดทำโดย นางสาวศิญาพร เถาวัลย์ราช รหัสนักศึกษา 611410009-8 นักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 3