Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
4.1 การบริหารยากินและยาเฉพาะที่ - Coggle Diagram
4.1 การบริหารยากินและยาเฉพาะที่
วัตถุประสงค์ของการให้ยา
1.1 เพื่อการรักษาเป็นการให้ยาเพื่อรักษาตามสาเหตุของโรค
1) รักษาตามอาการ เช่น อาการปวด ให้ได้รับยาบรรเทาอาการปวด
3) ทดแทนสิ่งที่ร่างกายขาด เช่น ผู้ป่วยเป็นโลหิตจางเพราะขาดธาตุเหล็ก
2) รักษาเฉพาะโรค เช่น ยาฆ่าเชื้อในผู้ป่วยที่มีภาวะติดเชื้อ
4) ให้ร่างปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ เช่น หัวใจเต้นเร็วเกินไป
1.2 เพื่อการป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ เช่น ฉีดวัคซีนบีซีจีเพื่อป้องกันวัณโรค
1.3 เพื่อการตรวจวิเคราะห์โรค เช่น ให้กลืนแป้งเบเรี่ยม ซัลเฟต
ปัจจัยที่มีผลต่อการออกฤทธิ์ของยา
2.3 กรรมพันธุ์ บางคนอาจมีความไวผิดปกติต่อยาบางชนิด บางคนแพ้ยาง่าย
2.4 ภาวะจิตใจ เช่น ผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกที่ได้รับยาเคมีบำบัดบางรายมีอาการคลื่นไส้ อำเจียนมาก โดยมีสำเหตุมาจากจิตใจ
2.2. เพศ ผู้ชายมีขนาดตัวใหญ่กว่าผู้หญิง น้ำหนักย่อมมากกว่า ถ้าได้รับยาขนาดเท่ากัน ยาจะมีปฏิกิริยาต่อผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย
2.5 ภาวะสุขภาพ ผู้ป่วยที่เป็นโรคหรือมีอาการป่วย
2.1 อายุและน้ำหนักตัว เด็กเล็กๆ ตับและไตยังเจริญไม่เต็มที่ ผู้สูงอายุมาก ๆ การทำงานของตับและไตลดลง จึงทำให้ยามีปฏิกิริยามากขึ้น
2.6 ทางที่ให้ยา ยาที่ให้ทางหลอดเลือดจะดูดซึมได้เร็วกว่ายาที่ให้รับประทานทางปาก
2.7 เวลาที่ให้ยา ยาบางชนิดต้องให้เวลาที่ถูกต้องยาจึงออกฤทธิ์ตามที่ต้องการ เช่น ยาปฏิชีวนะบางชนิดต้องให้ก่อนอาหาร จึงจะดูดซึมได้ดี
2.8 สิ่งแวดล้อม ยาที่รักษาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบางชนิด ต้องให้ผู้ป่วยอยู่ในที่สงบ เพื่อจะได้พักผ่อน
ระบบการตวงวัดยา
3.1 ระบบอโพทีคารี ถ้าเป็นน้ำหนักส่วนใหญ่ใช้หน่วยเป็นปอนด์ ออนซ์ เกรน
3.2 ระบบเมตริก ถ้าเป็นน้ำหนักส่วนใหญ่ใช้หน่วยเป็น กรัม มิลลิกรัม ลิตร มิลลิลิตร
คำย่อและสัญลักษณ์เกี่ยวกับคำสั่งการให้ยา
วิถีทางการให้ยา
รับประทานทางปาก
คำสั่งแพทย์ คำนวณขนาดยา
5.1 คำสั่งแพทย์
การให้ยาแก่ผู้ป่วย
5.1.1 คำสั่งครั้งเดียวใช้ได้ตลอดไป
5.1.2 คำสั่งใช้ภายในวันเดียว
5.1.3 คำสั่งที่ต้องให้ทันที
5.1.4 คำสั่งที่ให้เมื่อจำเป็น
ส่วนประกอบของคำสั่งการรักษา
1) ชื่อของผู้ป่วย ในปัจจุบันจะเป็นป้ายชื่อสติ๊กเกอร์ที่พิมพ์ออกจากเครื่องพิมพ์แล้วปิดแทนการเขียนเพื่อความสะดวกและป้องกันการผิดพลาด
2) วันที่เขียนคำสั่งการรักษำ
3) ชื่อของยา
4) ขนาดของยา
5) วิถีทำงการให้ยา
6) เวลาและความถี่ในการให้ยา
7) ลายมือผู้สั่งยา
ลักษณะคำสั่งแพทย์ตามทางวิถีทางการให้ยา
5) ทางกล้ามเนื้อ (intramuscular)
6) ทางชั้นผิวหนัง (intradermal)
4) ทางผิวหนัง (skin)
7) ทางหลอดเลือดดำ (intravenous)
3) ทางเยื่อบุ (mucous)
8) ทางใต้ผิวหนัง (subcutaneous / hypodermal)
2) ทางสูดดม (inhalation)
1) ทางปาก (oral)
5.2 คำนวณขนาดยา
การคำนวณยาเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับยาตามแผนการรักษา มีหลักการคำนวณดังนี้ ความเข้มข้นของยา (ในแต่ละส่วน) = ขนาดความเข้มข้นของยาส่วนกับที่มีปริมาณยาที่มี
รูปแบบการบริหารยา
Right patient/client (ถูกคน) คือการให้ยาถูกคน หรือถูกตัวผู้ป่วย โดยการเช็คชื่อผู้ป่วยทุกครั้งก่อนให้ยา
Right drug (ถูกยา) คือการให้ยาถูกชนิด โดยการอ่านชื่อยาอย่างน้อย 3 ครั้ง ดังนี้
ครั้งแรก ก่อนหยิบภาชนะใส่ยาออกจากที่เก็บ
ครั้งที่สอง ก่อนเอายาออกจากภาชนะใส่ยา
ครั้งที่สาม ก่อนเก็บภาชนะใส่ยาเข้าที่หรือก่อนทิ้งภาชนะใส่ยา
Right dose (ถูกขนาด) คือการให้ยาถูกขนาด โดยการจัดยาหรือคำนวณยาให้มีขนาดและความเข้มข้นของยาตามคำสั่งการให้ยา
Right time (ถูกเวลา) คือการให้ยาถูกหรือตรงเวลา โดยการให้ยาตรงตามเวลาหรือความถี่ตามคำสั่งการให้ยา
4.1 การให้ยาก่อนอาหาร เพื่อไม่ต้องการให้ยาได้สัมผัสกับอาหาร
4.2 การให้ยาหลังอาหารเป้าหมายเพื่อให้ยาได้สัมผัสกับอาหารเพื่อช่วยเรื่องการดูดซึม
4.3 การให้ยาช่วงใดก็ได้คืออาหารไม่มีผลต่อการดูดซึมดังนั้นจึงให้ช่วงเวลาใดก็ได้
4.4 การให้แบบกำหนดเวลาหรือให้เฉพาะกับอาหารที่เฉพาะ เช่น การให้พร้อมกับอาหาร
Right route (ถูกวิถีทาง) คือการให้ยาถูกทาง
Right technique (ถูกเทคนิค) คือการให้ยาถูกตามวิธีการ ใช้เทคนิคที่เหมาะสม
Right documentation (ถูกการบันทึก) คือการบันทึกการให้ยาที่ถูกต้อง
Right to refuse คือการตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้รับความยินยอมจากผู้ป่วยในการจัดการยา ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะปฏิเสธการใช้ยาหากเขามีความสามารถในการทำเช่นนั้น
Right History and assessment คือการซักประวัติ และการประเมินอาการก่อน หลังให้ยา โดยการสอบถามข้อมูล/ ตรวจสอบประวัติการแพ้ยาของผู้ป่วยทุกครั้งก่อนการให้ยา
Right Drug-Drug Interaction and Evaluation คือการที่จะต้องให้ยาร่วมกัน จะต้องดูก่อนว่ายานั้นสามารถให้ร่วมกันได้ไหม เมื่อให้ร่วมกันจะมีผลทำให้ยาออกฤทธิ์มากขึ้นหรือน้อยลง
Right to Education and Information คือก่อนที่พยาบาลจะให้ยาผู้ป่วยทุกครั้งต้องแจ้งชื่อยาที่จะให้ ทางที่จะให้ยา ผลการรักษา ผลข้างเคียงของยาที่อาจจะเกิด
การให้ยาทางปากและยาเฉพาะที่
7.1 การให้ยาทางปาก
ยาที่ระคายเคืองทางเดินอาหารให้กินหลังอาหารหรือนม
ยาอมใต้ลิ้น เช่น ไนโตรกลีนเซอลีน (Nitroglycerine) ไอซอร์ดิล (Isodril) ที่ใช้รักษาอาการเจ็บหน้าอกจากการขาดเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ
การให้ยาเม็ดในเวลาเดียวกัน สามารถรวมกันได้ ส่วนยาน้ำให้แยกใส่แก้วยาต่างหาก
ยาชนิดผงให้ใช้ช้อนตวงปาดแล้วเทใส่แก้วยา
ยาจิบแก้ไอควรให้ภายหลังรับประทานยาเม็ดแล้วเพื่อให้ยาค้างอยู่ที่คอไม่ถูกน้ำล้ำงออก
ยาลดกรดในกระเพาะอาหารควรให้อันดับสุดท้ายเพื่อช่วยลดอาการระคายเคือง
7.2 การให้ยาเฉพาะที่
ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
8.1 ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา
8.2 ความคลาดเคลื่อนในการคัดลอกคาสั่งใช้ยา
8.3 ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา
8.4 ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
บทบาทพยาบาลในการให้ยาผู้ป่วย
สมรรถนะของพยาบาลในการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (Competencies of nurses for Rational Drug Use)
กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาทางปากและยาเฉพาะที่
การประเมินสภาพ
การวินิจฉัยการพยาบาล
การวางแผนการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
การประเมินผล