Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารยากินและยาเฉพาะที่ - Coggle Diagram
การบริหารยากินและยาเฉพาะที่
วัตถุประสงค์ของการให้ยา
เพื่อการรักษา
รักษาตามอาการ
รักษาเฉพาะโรค
ทดแทนสิ่งที่ร่างกายขาด
ให้ร่างกายปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ
เพื่อการป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ
เพื่อการตรวจวิเคราะห์โรค
ปัจจัยที่มีผลต่อการออกฤทธิ์ของยา
อายุและน้้ำหนักตัว เด็กเล็ก ๆ ตับและไตยังเจริญไม่เต็มที่ ผู้สูงอายุมาก ๆ การทำงานของตับและไตลดลง จึงทำให้ยามีปฏิกิริยามากขึ้น
เพศ ผู้ชายมีขนาดตัวใหญ่กว่าผู้หญิง น้ำหนักย่อมมากกว่า ถ้าได้รับยาขนาดเท่ากัน ยาจะมีปฏิกิริยาต่อผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย
กรรมพันธุ์ บางคนอาจมีความไวผิดปกติต่อยาบางชนิดบางคนแพ้ยาง่าย ซึ่งอาจเกิดจากพันธุกรรม
ภาวะจิตใจ เช่น ผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกที่ได้รับยาเคมีบำบัดบางรายมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน
มาก โดยมีสาเหตุมาจากจิตใจ
ภาวะสุขภาพ ผู้ป่วยที่เป็นโรคหรือมีอาการป่วย เมื่อได้รับยาจะมีผลต่อการแสดงออกของฤทธิ์ยาต่างจากคนปกติ
ทางที่ให้ยา ยาที่ให้ทางหลอดเลือดจะดูดซึมได้เร็วกว่ายาที่ให้รับประทานทางปาก
เวลาที่ให้ยา ยาบางชนิดต้องให้เวลาที่ถูกต้องยาจึงออกฤทธิ์ตามที่ต้องการ เช่น ยาปฏิชีวนะบางชนิดต้องให้ก่อนอาหาร จึงจะดูดซึมได้ดี
สิ่งแวดล้อม ยาที่รักษาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบางชนิด ต้องให้ผู้ป่วยอยู่ในที่สงบ เพื่อจะได้พักผ่อน
ระบบการตวงวัดยา
ระบบอโพทีคารีถ้าเป็นน้ำหนักส่วนใหญ่ใช้หน่วยเป็นปอนด์ ออนซ์ เกรน
ระบบเมตริก ถ้าเป็นน้ำหนักส่วนใหญ่ใช้หน่วยเป็น กรัม มิลลิกรัม ลิตร มิลลิลิตร
ระบบมาตราตวงวัดประจำบ้าน มีหน่วยที่ใช้เป็น หยด ช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยชา และถ้วยแก้ว
คำย่อและสัญลักษณ์เกี่ยวกับคำสั่งการให้ยา
ความถี่การให้ยา
OD omni die วันละ 1 ครั้ง
bid bis in die วันละ 2 ครั้ง
tid ter in die วันละ 3 ครั้ง
qid quarter in die วันละ 4 ครั้ง
q 6 hrs quaque 6 hora ทุก 6 ชั่วโมง
วิถีทางการให้ยา
O รับประทานทางปาก
M เข้ากล้ามเนื้อ
SC เข้าชั้นใต้ผิวหนัง
V เข้าหลอดเลือดดำ
Supp เหน็บ / สอด
ID เข้าชั้นระหว่างผิวหนัง
subling อมใต้ลิ้น
Inhal ทงสูดดม
Nebul พ่นให้สูดดม
instill หยอด
เวลาการให้ยา
a.c. ante cibum ก่อนอาหาร
p.c. post cibum หลังอาหาร
h.s. hora somni ก่อนนอน
p.r.n. pro re nata เมื่อจำเป็น
stat statim ทันทีทันใด
คำสั่งแพทย์คำนวณขนาดยา
5.1 คำสั่งแพทย์
คำสั่งครั้งเดียวใช้ได้ตลอดไป (Standing order / order for continuous)
คำสั่งใช้ภายในวันเดียว (Single order of order for one day)
คำสั่งที่ต้องให้ทันที(Stat order)
คำสั่งที่ให้เมื่อจำเป็น (prn order)
ส่วนประกอบของคำสั่งการรักษา
1) ชื่อของผู้ป่วย
2) วันที่เขียนคำสั่งการรักษา
3) ชื่อของยา
4) ขนาดของยา
5) วิถีทางการให้ยา
6) เวลาและความถี่ในการให้ยา
7) ลายมือผู้สั่งยา
ลักษณะคำสั่งแพทย์ตามทางวิถีทางการให้ยา
1) ทางปาก (oral) ยาที่ให้ผู้ป่วยรับประทานทางปาก โดยยาจะดูดซึมทางระบบทางเดินอาหารและลำไส้
2) ทางสูดดม (inhalation) ยาที่ใช้พ่นให้ผู้ป่วยสูดดมทางปากหรือจมูก โดยดูดซึมทางระบบทางเดินหายใจ
3) ทางเยื่อบุ (mucous) ยาที่ใช้สอดใส่หรือหยอดทางอวัยวะต่างๆ ของผู้ป่วย โดยดูดซึมเข้าทางเยื่อบุสู่ระบบไหลเวียนของเลือดบริเวณอวัยวะนั้น
4) ทางผิวหนัง (skin) ยาที่ใช้ทาบริเวณผิวหนังของผู้ป่วย โดยดูดซึมเข้าร่างกายทางผิวหนังชนิดของการปรุงยาเป็นลักษณะต่างๆ กัน
8) ทางใต้ผิวหนัง (subcutaneous / hypodermal) ยาที่ใช้ฉีดเข้าที่ใต้ผิวหนังของผู้ป่วย โดยดูดซึมเข้าระบบไหลเวียนเลือดที่ชั้นใต้ผิวหนัง
5) ทางกล้ามเนื้อ (intramuscular) ยาที่ใช้ฉีดเข้าทางกล้ามเนื้อของผู้ป่วย โดยดูดซึมเข้าร่างกายทางระบบไหลเวียนเลือดที่ชั้นกล้ามเนื้อ
7) ทางหลอดเลือดดำ (intravenous) ยาที่ใช้ฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำของผู้ป่วย โดยเข้าสู่ระบบไหลเวียนเลือดโดยตรง
6) ทางชั้นผิวหนัง (intradermal) ยาที่ใช้ฉีดเข้าทางชั้นผิวหนังของผู้ป่วย โดยดูดซึมเข้าร่างกายทางระบบไหลเวียนเลือดที่ชั้นผิวหนัง
5.2 คำนวณขนาดยา
รูปแบบการบริหารยา
Right patient/client (ถูกคน)
Right drug (ถูกยา)
Right dose (ถูกขนาด)
Right time (ถูกเวลา)
4.1 การให้ยาก่อนอาหาร
4.3 การให้ยาช่วงใดก็ได้คืออาหารไม่มีผลต่อการดูดซึมดังนั้นจึงให้ช่วงเวลาใดก็ได้
4.4 การให้แบบกาหนดเวลาหรือให้เฉพาะกับอาหารที่เฉพาะ
4.2 การให้ยาหลังอาหารเป้าหมายเพื่อให้ยาได้สัมผัสกับอาหาร
Right route (ถูกวิถีทาง)
Right technique (ถูกเทคนิค)
Right documentation (ถูกการบันทึก)
Right to refuse
Right History and assessment
Right Drug-Drug Interaction and Evaluation
Right to Education and Information
บทบาทพยาบาลในการให้ยาผู้ป่วย
เมื่อผู้ป่วยเข้ามานอนรักษาในครั้งแรก พยาบาลตรวจสอบยาให้ตรงกับคำสั่งแพทย์พร้อมกับ
เช็คยาและจำนวนให้ตรงตามฉลากยา
การซักประวัติ
เมื่อมีคำสั่งใหม่ หัวหน้าเวร ลงคำสั่งในใบ MAR ทุกครั้ง
การจัดยาให้ระมัดระวังในการจัดยา
เวรบ่าย พยาบาลจะตรวจสอบรายการยาในใบ MAR กับคำสั่งแพทย์ให้ตรงกัน
กรณีผู้ป่วยที่ NPO ให้มีป้าย NPO และเขียนระบุว่ำ NPO เพื่อผ่าตัดหรือเจาะเลือดเช้า ให้
อธิบายและแนะนำผู้ป่วยและญาติทุกครั้ง
กรณีคำสั่งสารน้ำ+ยาB co 2 ml ให้เขียนคำว่า +ยำ B co 2 ml ด้วยปากกาเมจิก
การจัดยาจะจัดตามหน้าชองยาหลังจากตรวจสอบความถูกต้องแล้ว ในการจัดยาที่เป็นคำสั่งใหม่ผู้จัดจะดูวันที่ที่สั่งยาใหม่หน้าซองยาในการเริ่มยาใหม่ในครั้งแรก
มีผู้จัด-ผู้ตรวจสอบ คนละคนกันตรวจสอบช้้ำก่อนให้ยาให้ตรวจสอบ 100% เช็คดูตามใบMAR ทุกครั้ง
การแจกยาไล่แจกยาตามเตียงพร้อมเซ็นชื่อทุกครั้งหลังให้ยา
ให้ยึดหลัก 6R ตามที่กล่าวมาข้างต้น
ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
8.1 ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา
(1) สั่งยาผิดขนาด
(3) ผิดวิถีทาง
(4) ผิดความถี่
(2) สั่งยาผิดชนิด
(5) สั่งยาที่มีประวัติแพ้
(6) ลายมือไม่ชัดเจน
8.2 ความคลาดเคลื่อนในการคัดลอกคำสั่งใช้ยา
(1) ที่หอผู้ป่วย
(2) ที่ศูนย์คอมพิวเตอร์
(3) ที่เภสัชกรรม
8.3 ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา
8.4 ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
(1) การให้ยาไม่ครบ
(2) การให้ยาผิดชนิด
(3) การให้ยาซึ่งผู้สั่งใช้ยาไม่ได้สั่ง
(4) การให้ยาผู้ป่วยผิดคน
(11) การให้ยาผิดรูปแบบยา
(5) การให้ยาผิดขนาด
(10) การให้ยาผิดเทคนิค
(6) การให้ยาผิดวิถีทาง
(7) กำรให้ยำผิดเวลำ
(8) การให้ยามากกว่าจำนวนครั้งที่สั่ง
(9) การให้ยาในอัตราเร็วที่ผิด
การให้ยาทางปากและยาเฉพาะที่
7.1 การให้ยาทางปาก
ยาที่ระคายเคืองทางเดินอาหารให้กินหลังอาหารหรือนม
การให้ยาเม็ดในเวลาเดียวกัน สามารถรวมกันได้ ส่วนยาน้าให้แยกใส่แก้วยาต่างหาก
ยาชนิดผงให้ใช้ช้อนตวงปาดแล้วเทใส่แก้วยา
ยาจิบแก้ไอควรให้ภายหลังรับประทานยาเม็ดแล้วเพื่อให้ยาค้างอยู่ที่คอไม่ถูกน้ำล้างออก
ยาลดกรดในกระเพาะอาหารควรให้อันดับสุดท้ายเพื่อช่วยลดอาการระคายเคืองและเคลือบผนังของหลอดอาหารและกระเพาะ
ยาอมใต้ลิ้น เช่น ไนโตรกลีนเซอลีน (Nitroglycerine) ไอซอร์ดิล (Isodril) ที่ใช้รักษาอาการเจ็บหน้าอกจากการขาดเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ
7.2 การให้ยาเฉพาะที่
(1) การสูดดม (Inhalation)
(2) การให้ยาทางตา (Eye instillation)
(3) การให้ยาทางหู(Ear instillation)
(4) ก่ารหยอดยาจมูก (Nose instillation)
(5) การเหน็บยา
กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาทางปากและยาเฉพาะที่
1.การประเมินสภาพ
การวินิจฉัยการพยาบาล
การวางแผนการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
การประเมินผล
สมรรถนะของพยาบำลในการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
สามารถประเมินปัญหาผู้ป่วยที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยา
สามารถสื่อสารเพื่อให้ผู้ป่วยร่วมตัดสินใจในการใช้ยา
บริหารยาตามการสั่งใช้ยาได้อย่างถูกต้อง
สามารถให้ข้อมูลที่จำเป็นต่อการใช้ยาได้อย่างเพียงพอ
สามารถติดตามผลการรักษา และรายงานผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ยาได้
สามารถร่วมพิจารณาการเลือกใช้ยาได้อย่างเหมาะสมตามความจำเป็น
สามารถใช้ยาได้อย่างปลอดภัยทั้งต่อผู้ป่วย และไม่เกิดผลกระทบต่อสังคมโดยรวม
สามรถใช้ยาได้อย่างเหมาะสม
สามารถพัฒนาความรู้ความสามารถในการใช้ยา ได้อย่างต่อเนื่อง
สามารถทำงานร่วมกับบุคลากรอื่นแบบสหวิชาชีพ