Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยากดภูมิคุ้มกัน - Coggle Diagram
ยากดภูมิคุ้มกัน
-
กลุ่มสารยับยั้ง
Anti-TNF-เอลฟา antibody
การนำไปใช้รักษาในคลินิก
ใช้ในการรักษาโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ ร่วมกับยา Methothexate ให้ ในผู้ป่วยที่ไม่ตอบสนองต่อกลุ่มยา DMARDS นอกจากนั้นยังใช้รักษา Crohn's disease กรณีที่ไม่ตอบสนอง ต่อการรักษาด้วยยาอื่น
ผลข้างเคียงจากยา
กดไขกระดูก ทำให้เสี่ยงต่อการติดเชื้อได้ง่าย เช่น วัณโรค หรือการติดเชื้อทางเดินหายใจ พบปฏิกิริยาบริเวณที่ฉีดยา เช่น ผื่นแดง คัน ปวดหรือบวม อาจพบอาการ ปวดศีรษะ ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน
กลไกการออกฤทธิ์
เป็น antibodies ที่จับกับ TNF-4 ซึ่งเป็น cytokine ที่เหนี่ยวนำให้เกิดการ อักเสบ เช่น L-1, IL-6 และกระตุ้นการเคลื่อนตัวของเม็ดเลือดขาว
Anti-lgE mAbs
การนำไปใช้รักษาในคลินิก
ใช้รักโรคหอบหืดที่เกิดจากภูมิแพ้ (allergic asthma) ในผู้ป่วยที่ไม่ ตอบสนองต่อการใช้ยากลุ่ม steroids ชนิดสูดพ่น
ผลข้างเคียงจากยา
อาจเกิด anaphylactic reaction หลังจากได้รับยา 2 ชั่วโมง เสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสเพิ่มขึ้น และอาจเหนี่ยวนำทำให้เกิดมะเร็งได้ อาจพบอาการปวดศีรษะ หรือปวดบริเวณที่ฉีดยา
กลไกการออกฤทธิ์
ยาจะไปปิดกั้นการจับของ lgE กับ FC receptor ส่งผลให้ลด การหลั่งสารที่ก่อให้เกิดการแพ้แบบ hypersensitivity ชนิดที่ 1 นอกจากนั้น ยายังทำให้นะ ดับ IgE ในเลือดเพิ่มสูงขึ้น แม้ว่าจะหยุดยาไปแล้ว
Anti-CD2
ผลข้างเคียงจากยา
อาจพบอาการไข้ หนาวสั่น ปวดกล้ามเนื้อ ติดเชื้อได้ง่าย (cytokine release syndrome) และห้าม ใช้ยานี้ในผู้ป่วย HIV
กลไกการออกฤทธิ์
ยาออกฤทธิ์โดยจับกับ CD2 บนพื้นผิว T cell ทำให้ลดการแบ่งตัว ยับยั้งการ กระตุ้นและเกิดการทำลาย T cell และทำให้จำนวน T cel ในกระแสเลือดลดลง การนำไปใช้รักษาในคลินิก: ใช้รักษาผู้ป่วยโรคสะเก็ดเงิน (psoriasis)
-
-
กลุ่มยาที่มีพิษต่อเซลล์
-
-
Azathioprine (Imuran )
การนำไปใช้ในคลินิก
ใช้ร่วมกับยากลุ่ม Corticosteroids และ Cyclosporin ในการรักษาแบบ triple therapy เพื่อป้องกัน acute graft rejection (การปฏิเสธการปลูกถ่ายอวัยวะแบบเฉียบพลัน) จากการปลูกถ่ายไต หรือตับ หรือใช้รักษาโรคภูมิคุ้มกันต้านตัวเองหลายชนิด
ผลข้างเคียง
-
-
กดการทำงานของไขกระดูก เกิดภาวะเม็ดเลือดขาวต่ำบ่อยกว่าโลหิตจางหรือเกร็ดเลือดต่ำ เป็นผลข้างเคียงที่พบได้บ่อย และเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งมากขึ้น
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการสร้าง DNA, RNA และโปรตีน ส่วน active metabolite คือ 6- thioinosinic acid มีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ต่าง ๆ ในการสร้างสารพิวรีน มีผลยับยั้งการสร้าง DNA และยับยั้งการ แบ่งตัวของเซลล์
Leflunomide
-
-
กลไกการออกฤทธิ์
ยาไปยับยั้งการสังเคราะห์ pyrinmidine ส่งผลให้การ สังเคราะห์และการสร้าง DNA และ RNA ถูกยับยั้ง จึงทำให้มีฤทธิ์ต้านการอักเสบและ ต้านการเจริญเติบโตของเซลล์
กลุ่มอดรีโนคอร์ติคอยด์
การนำไปใช้รักษาในคลินิก
ในด้านการกดภูมคุ้มกัน หากใช้ในขนาดสูง (high dose) สามารถนำไปใช้กดอาการแสดงของโรคภูมิคุ้มกัน (autoimmune disorders) เช่น โรคภูมิแพ้ตนเอง (Severe systemic lupus
erythematosus; SLE) ใช้ร่วมกับยากดภูมิคุ้มกันชนิดอื่น ๆ
ผลข้างเคียงจากยา
การใช้ยา Corticosteroids เป็นระยะเวลานานมีผลต่อระบบต่าง ๆ ของร่างกายหลายระบบ เช่น
น้ำหนักตัวเพิ่ม หน้ากลมคล้ายรูปพระจันทร์ (moon face) ติดเชื้อง่าย อารมณ์แปรปรวนได้ง่าย
กลไกการออกฤทธิ์
การออกฤทธิ์ยาจะไปควบคุมการทำงานขของ gene โดยจับกับ steroid receptor ภายในเซลล์ได้เป็น drug-receptor Complex ไปออกฤทธิ์ที่นิวเคลียสโดยไปยับยั้ง การสร้าง mRNA ของโปรตีนหลายชนิด รวมทั้ง cytokine ชนิดต่าง ๆ ยาสามารถออกฤทธิ์กดภูมิคุ้มกันได้หลายวิธี เช่น กดการทำงานของเซลล์ macrophage, T และ B lymphocyte ยับยั้งการแบ่งตัวของเซลล์ (ymphocyte ยับยั้งการสร้าง cytokine หลายชนิด ทำให้ จำนวน lymphocyte ในกระแสเลือดลดลงได้ทันทีและได้นานถึง 24 ชั่วโมง โดยทำให้เซลล์ lymphocyte เคลื่อนย้ายออกจากกระแสเลือด มีผลต่อการเคลื่อนย้าย T cell มากกว่า B cell ฤทธิ์ลดการอักเสบมีส่วนช่วย ในการรักษาด้วย
-