Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดําเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาพุทธ - Coggle Diagram
การดําเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาพุทธ
หลักคําสอนในพุทธศาสนา
ศาสนา (Religion) หมายถึง ข้อผู้พันระหว่างชีวิตมนุษย์กับความจริงสูงสุดที่มนุษย์เชื่อเรื่องสําคัญในศาสนา 3 ประการ
ความจริงสูงสุดอันเป็นพื้นฐานหรือที่มาของหลักคําสอน
หลักศีลธรรมที่เป็นแม่แบบของจริยธรรมที่มนุษย์พึงปฏิบัติ เพื่อนําชีวิตไปตามแนวทางที่ประเสริฐ
แก่นหรือสาระสําคัญของคําสอน
หลักปฏิบัติจริยธรรม
ความกตัญญูกตเวที
การรู้จักบุญคุณและตอบแทน อันเป็นหลักธรรมพื้นฐานทั่วไปของมนุษย์ เพื่อการ ดํารงอยู่อย่างปกติสุข
หลักปฏิบัติศีลธรรม
เป็นหลักคําสอนสําคัญของศาสนา
ศีล 5 เป็นหลักปฏิบัติพื้นฐานของชาวพุทธ
ศีลข้อ 1 ปาณาติปาตา เวรมณี งดเว้นจากการทําชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป
ศีลข้อ 2 อทินนาทานา เวรมณี งดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้
ศีลข้อ 3 กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม
ศีลข้อ 4 มุสาวาทา เวรมณี งดเว้นจากการกล่าวเท็จ
ศีลข้อ 5 สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี งดเว้นจากการดื่มสุราและเมรัย อันเป็นที่ตั้งแห่งความ ประมาท
ศาสนาพุทธ กล่าวถึงความจริงสูงสุด
กฏไตรลักษณ์
อริยสัจ
ปฏิจจสมุปบาท
นิพพาน
กฏไตรลักษณ์
อนิจจัง คือ ความไม่เที่ยง ไม่คงตัว เสื่อมสลาย
ทุกขัง คือ ความทุกข์ ถูกบีบคั้น ไม่สมอยาก ตั้งอยู่ไม่ได้
อนัตตา คือ ความไม่มีตัวตนที่แท้จริง
อริยสัจ
คําสอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ปฏิจจสมุปบาท
กระบวนธรรมของจิต ในการเกิดขึ้นและดับไปแห่งทุกข์
นิพพาน
เป็นความดับสนิทของตัณหา ปล่อยวาง สลัดทิ้งโดยสิ้นเชิงซึ่งตัณหา
ธรรมเป็นที่ระงับสังขารทั้งปวง สิ้นตัณหา
อสังขตธรรม เป็นการสิ้นไปแห่ง ราคะ โทสะ โมหะ
ความคลายกําหนัด กําจัดความเมา ความกระหาย ก่อนเสียชื่อ ความอาลัย
อายตนะ (สิ่ง) สิ่งนั้นมีอยู่ไม่ใช่ดิน น้ํา ลม ไฟ
พุทธศาสนากับการปฏิบัติการพยาบาล
เกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นทุกข์ของมนุษย์ เมื่อมนุษย์อยู่ในภาวะเจ็บป่วย มนุษย์ประสบความทุกข์ ผู้ให้การ ดูแล/พยาบาล/รักษา เข้าใจผู้ป่วยอยู่ในความทุกข์
พุทธศาสน์กับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
การดูแลรักษาด้านร่างกาย
เมื่อพุทธองค์ประชวรแบบนี้ครั้งก่อนเคยเสวยยาคู ปรุงด้วยของสามอย่าง
งา
ข้าวสาร
ถั่วเขียว
การดูแลรักษาด้านจิตใจ
ท่านพระมหาจุนทะก็ได้สาธยายโพชฌงค์ 7 ตามที่ท่านได้ฟังมาจากพระพุทธเจ้าอย่างแจ่มแจ้งถวายแด่พระองค์ซึ่งประชวรอยู่
การดูแลรักษาด้านจิตวิญญาณ
พระมหาโมกคัลลานะได้สดับโพชฌงค์จากพระพุทธเจ้า โดยตรง อาพาธก็สงบระงับและหายเป็นปกติในที่สุด
การดูแลรักษาด้านสังคม
พุทธวิธีเสริมสุขภาพ เป็นธรรมดาว่ากายกับใจนั้นเป็นสิ่งที่อาศัยกันและกัน พอกายเจ็บป่วย ไม่สบาย คน ทั่วไปก็มักจะพาลจิตใจไม่สบาย เศร้าหมอง
การนําผลการปฏิบัติศีล 5 มาเป็นเครื่องมือในการดูแลสุขภาพ
ศีลข้อ 1 ปาณาติปาตา เวรมณี งดเว้นจากการทําชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป
การบริโภคพืชผัก ก็ควรต้องเลือกผักอินทรีย์ หรือผัดปลอดสาร
ตามความเชื่อและความศรัทธาของผู้ที่นิยมบริโภคอาหารเจ กล่าวว่า “กินผักกินไม้หยุดทําลายชีวิตสัตว์”
ศีลข้อ 2 อทินนาทานา เวรมณี งดเว้นจากการถือเอาของที่เจ้าของมิได้ให้
การไม่ต้องการอยากได้ของคนอื่นมาเป็นของตน ส่งผลให้เกิด ความเครียด
ศีลข้อ 3 กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี งดเว้นจากการประพฤติผิดในกาม
สาเหตุของการเกิดโรคทางเพศสัมพันธุ์ที่ยังเป็นปัญหาสุขภาพของทั่วโลก คือ การติดเชื้อเอชไอวี และ กลายเป็นผู้ป่วยเอดส์เสียชีวิตในที่สุด
กลยุทธ์ของการรณรงค์ผู้ติดเชื้อรายใหม่ใชวิธีการประชาสัมพันธ์ “รักเดียวใจเดียว ไม่เกี่ยวข้องเอดส์”
ศีลข้อ 4 มุสาวาทา เวรมณี งดเว้นจากการกล่าวเท็จ
การโกหกพูดไม่จริงเป็นสิ่งที่ทําให้ไม่ได้รับข้อเท็จจริง
ศีลข้อ 5 สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี งดเว้นจากการดื่มสุราและเมรัย
เป็นที่ตั้งแห่งความ ประมาท ศีลข้อนี้เมื่อดื่มสุรา เครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอออล์ นอกจากมีผลร้ายต่อสุขภาพของตนเอง
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองแนวทางพุทธศาสน์
หลัก 7 ประการของการให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยระยะท้าย
การให้ความรัก ความเข้าใจ
ช่วยให้เขายอมรับความตายที่จะมาถึง
ช่วยให้เขาจดจ่อในสิ่งที่ดีงาม
ช่วยปล่อยว่างสิ่งต่าง ๆ
สร้างบรรยากาศที่เอื้อให้ใจสงบ
กล่าวคําอําลา
ขอบคุณสิ่งดี ๆ ที่เขาทํา ให้กับทุกคนหรือแนะนําให้เขาปล่อยวาง
หลักการและแนวคิดในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
ต้องดูแลผู้ป่วย และครอบครัวทุก ๆ ด้าน
ต้องเริ่มตั่งแต่แรกทั้งผู้ป่วยและครอบครัว
สิทธิของคนใกล้ตายต้องรับรู้ว่าตนเองเป็นอะไร ทําอะไร ได้แค่ไหน
การใส่อุปกรณ์ เอาออกเพื่อให้คนไข้เสียชีวิต
การทํางานเป็นทีม
การดําเนินของโรคทําให้เกิดเหตุการณ์ การเตรียมรับมือจะวางแผนจัดการอย่างไร
การบรรเทาความทุกข์ทรมานในผู้ป่วยระยะสุดท้าย