Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารยากินและยาเฉพาะที่ - Coggle Diagram
การบริหารยากินและยาเฉพาะที่
วัตถุประสงค์ของการใช้ยา
เพื่อการรักษาตามสาเหตุของโรค ช่วยบรรเทาอาการ
รักษาตามอาการ
รักษาเฉพาะที่
ทดแทนสิ่งที่ร่างกายขาด
ให้ร่างกายปฎิบัติหน้าที่ตามปกติ
เพื่อการตรวจวิเคราะห์โรค
เพื่อป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ
ปัจจัยที่มีผลต่อการออกฤทธิ์ของยา
อายุ น้ำหนักตัว
เด็กเล็กๆ ตับและไตยังเจริญไม่เต็มที่
ผู้สุงอายุ การทำงานของตับและไตลดลง
เพศ
ผู้ชายมีขนาดตัวใหญ่ น้ำหนักค่อนข้างมากกว่า ถ้าได้รับยาขนาดเท่ากัน ปฎิกิริยาต่อผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย
กรรมพันธ์ุ
ความไวผิดปกติต่อยาบางชนิด
ภาวะจิตใจ
ภาวะสุขภาพ
ทางที่ให้ยา
ยาที่ให้ทางหลอดเลือดจะดูดซึมได้เร็วกว่า
เวลาที่ให้ยา
สิ่งแวดล้อม
ระบบการตวจวัดยา
ระบบอโพทีคารี
ระบบเมตริก
1 กิโลกรัม = 1000 กรัม ( gm )
1 กรัม = 1000 มิลลิกรัม ( mg )
1 มิลลิกรัม = 1000 ไมโครกรัม ( mcg )
ระบบตราตวงวัดประจำบ้าน
15 หยด = 1 มิลลิลิตร ( ซี.ซี )
1 ช้อนชา = 5 มิลลิลิตร ( ซี.ซี )
1 ช้อนโต๊ะ = 15 มิลลิลิตร ( ซี.ซี )
1 ถ้วย = 240 มิลลิลิตร ( ซี.ซี )
ระบบอโพทีคารี เป็น ระบบเมตริก
1 เกรน ( grain ) = 60 มิลลิกรัม ( mg )
คำย่อและสัญลักษณ์เกี่ยวกับคำสั่งการให้ยา
ความถี่การให้ยา
OD onece a day วันละ 1 ครั้ง
bid twice a day วันละ 2 ครั้ง
tid three times a day วันละ 3 ครั้ง
qid four times a day วันละ 4 ครั้ง
q 6 hrs every 6 hours
วิถีทางการใช้ยา
O รับประทานทางปาก
M เข้ากล้ามเนื้อ
SC เช้าใช้ใต้ผิวหนัง
Vเข้าหลอดเลือดดำ
ID เข้าชั้นระหว่างผิวหนัง
subling/ SL อมใต้ลิ้น
Inhal ทางสูดดม
Nebul พ่นให้สูดดม
Supp เหน็บ/สอด
instill หยอด
เวลาการให้ยา
a.c. before meals ก่อนอาหาร
p.c. after meals หลังอาหาร
h.s. before bed ก่อนนอน
p.r.n. whenever necessary เมื่อจำเป็น
stat immediately ทันทีทันใด
คำสั่งแพทย์ คำนวณขนาดยา
คำสั่งแพทย์
Stading order / order for continuous
Single order of order for one day
Stat order
prn order
ส่วนประกอบของคำสั่งการรักษา
ชื่อของผู้ป่วย
วันที่เขียนคำสั่งการรักษา
ชื่อของยา
ขนาดของยา
วิถีทางการให้ยา
เวลาและความถี่ในการให้ยา
ลายมือผู้สั่งยา
ลักษณะคำสั่งแพทย์ตามทางวิถีทางการให้ยา
การเขียนคำสั่งให้ยา
ชื่อยา-ขนาด-จำนวน-ทางที่ให้-ความถี่
วิถีทางการให้ยา
Oral
จะดูดซึมทางระบบทางเดินอาหารและลำไส้
ลักษณะของยา
tablet
Capsule
Syrup
Elixir
Emulsion
Powder
Mixture
Lozenge
Inhalation
ดูดซึมทางระบบทางเดินหายใจ
ลักษณะของยา
Spray
Nebulae
mucocus
ดูดซึมเข้าทางเยื่อบุสู่ระบบไหลเวียนของเลือดบริเวณอวัยวะนั้น
ลักษณะของยา
Tablet
Suppository
Sublingual
Aqueous solution
Instillate
Irrigate
Skin
ดูดซึมเข้าร่างกายางผิวหนัง
ลักษณะของยา
Lotion
Cream
Ointment
Paste
Inunction
Powder
intramuscular
ดูดซึมเข้าร่างกายทางระบบไหลเวียนเลือดชั้นกล้ามเนื้อ
ลักษณะของยา
Aqueous solution
Intradermal
ดูดซึมเข้าร่างกายทางระบบไหลเวียนเลือดชั้นผิวหนัง
ลักษณะของยา
Aqueous solution
Intravenous
เข้าสู่รบบไหลเลือดโดยตรง
ลักษณะของยา
Aqueous solution
Subcutaneous / hypodemal
ดูดซึมเข้าทางเยื่อบุสู่ระบบไหลเวียนของเลือดชั้นใต้ผิวหนัง
ลักษณะของยา
Aqueous solution
คำนวณขนาดยา
ความเข้มข้นของยา ( ในแต่ละส่วน ) = ขนาดความเข้มข้นของยาที่มี/ปริมาณยาที่มี
รูปแบบการบริหารยา
หลักการพื้นฐาน
Rirht patirent / client
เช็คชื่อผู้ป่วยทุกครั้งก่อนให้ยาหรือฉีดยา
Rirht drug
อ่านชื่อยาก่อน ให้ยา
ครั้งแรก ก่อนหยิบภาชนะใส่ยาออกจากที่เก็บ
ครั้งที่สอง ก่อนเอายาออกจากภาชนะใส่ยา
ครั้งที่สาม ก่อนเก็บภาชนะใส่ยาเข้าที่หรือหลังทิ้งภานะใส่ยา
Rirht dose
ให้ยาที่ถูกขนาด จัดยาหรือคำนวณยาให้มีความเข้มข้นหรือขนาดเท่ากับคำสั่งการให้ยา
Rirht time
ให้ยาถูกต้องตามเวลา
การให้ยาก่อนอาหาร เพื่อไม่ให้ยาสัมผักับอาหาร รับประทานก่อน 1-2 ชั่วโมง
การให้ยาหลังอาหาร ให้หลังอาหารทันทีจนถึง 2 ชั่วโมงหลังอาหาร
การให้ยาช่วงใดก็ได้
การให้แบบกำหนดเวลา ให้เฉพาะกับอาหารที่เฉพาะ
Rirht route
ให้ยาแก่ผู้ป่วยตามที่แพทย์สั่งการรักษา
Rirht technique
ใช้เทคนิคที่เหมาะสม วิธีที่ถูกต้อง
Rirht docmentation
พยาบาลลงนามเวลาเดียวกับที่ให้ยากับผู้ป่วยในเอกสารกำหนด
Rirht to refuse
ตรวจสอบให้แน่ใจว่าได้รับการยนยอมจากผู้ป่วย
Rirht History and assesment
การซักประวัติ การประเมินอาการก่อน หลัง ให้ยา
Rirht Drug-Drug interaction and Evaluation
กาให้ยาร่วมกัน ต้องดูยานั้นสามารถใช้ร่วมกันได้หรือไม่
Rirht to Education and information
ก่อนพยาบาลจะให้ยาผู้ป่วยต้องแจ้งทุกครั้ง
หลักสำคัญในการใช้ยา
การให้ยาทางปากใช้หลักสะอาด และฉีดยาใช้หลัก aseptic technique
ตรวจสอบคำสั่งแพทย์ก่อนให้ยาทุกครั้ง
ก่อนให้ยาต้องทราบวัตถุประสงค์การให้ยา การวินิจฉัยโรค
ตรวจสอบประวัติการแพ้ยาจากตัวผู้ป่วยและยาติในกรณีผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว
ตรวจสอบวันหมดอายุของยาปกติแล้วยาเม็ดมีอายุ 5 ปี ยาน้ำ 3 ปี
ไม่ควรเตรียมยาค้างไว้
ไม่ให้ยาที่ฉลากมีการลบเลือนไม่ชัดเจน
ตรวจสอบผู้ปวยก่อนให้ยา ชื่อ-นามสกุล
ผู้ป่วยต้องรับประทานยต่อหน้าพยาบาลเพื่อป้องกันไม่ได้รับยา
บอกให้ทราบวัตถุประสงค์ของการใช้ยา
ลงบันทึกการให้ยาหลังจากให้ยาทันที
ประเมินประสิทธิภาพของยาที่ให้
สังเกตอาการก่อนและหลังการให้ยา
ในกรณีให้ยาผิดต้องรีบรายงานให้พยาบาลหัวหน้าเวรทราบทันที
การให้ยาทางปากและยาเฉพาะที่
การให้ยาทางปาก
ข้อควรปฏิบัติในการให้ยา
ยาที่ระคายเคืองทางเดินอาหารให้กินหลังอาหารหรือนม
ให้ยาเม็ดในเวลาเดียวกัน สามารถรวมกันได้ ยาน้ำให้แยกต่างหาก
ยาชนิดผงให้ใช้ช้อนตวงปาดแล้วเทใส่แก้วยา
ยาลดกรดในกระเพาะอาหารควรให้อันดับสุดท้าย
ยาจิบแก้ไอควรให้ภายหลังรับประทานยาเม็ด
ยาอมใต้ลิ้น ควรให้หลังรับประทานยาทุกชนิแล้ว
ให้ผู้ป่วยรับประทานยาจนหมดต่อหน้า
อุปกรณ์
ถ้วยยา หรือ Syringe
น้ำเปล่า น้ำหวานแทนน้ำ
ถาดหรือรถใส่ยา
แบบบันทึกการให้ยา
หลักการให้ยา
ดูเบอร์เตียง ชื่อ นามสกุล ผู้ป่วยใน MAR ให้ตรงกัน
ดูชื่อยา ขนาดยา เวลที่ให้ใน MAR ของผู้ป่วย
เตรียมยาให้ตรง MAR ของผู้ป่วย
อ่านฉลากยาให้ตรง MAR ของผู้ป่วย ดูวันที่หมดอายุของยา
เทยา ให้ตรงตามจำนวนกับขาดยาใน MAR ของผู้ป่วย
การเตรียมยา
ยาชนิด Unit dose
ใส่ถ้วยยาจำนวนตามที่แพทย์สั่ง
ยาที่หุ้มด้วย Foil ให้แกะที่เตยวผู้ป่วย Foil
ยาชนิด Multidose
เทยาจากซองยา ไม่ให้มือสัมผัส
ป้องกันสิ่งสกปรก
ยาน้ำ
ให้ทันป้ายยาหรือฉลากข้าหาฝ่ามือ
ป้องกันการหกเปื้อนป้ายยา
ดูชื่อ ขนาดยาให้ตรงกับใบ MAR
ให้ผู้ป่วยรับประทานยาตรงตามเวลา
ดูเบอร์เตียง ชื่อ-สกุลผู้ป่วยต้องกัน
แจกยาให้ผู้ป้วยรับประทานภายในเวลาที่กำหนด
ประเมินสัญญาณชีพผู้ป่วยกอนให้ยา
สังเกตการเปลี่ยนแปลงหลังรับประทานยา
บันทึกในแผนการพยาบาลและใบ MAR ทุกครั้ง
การให้ยาเฉพาะที่
ใช้หลักการบริหาร 6 Rights
Inhalation
พ่นยาเข้าสู่ทางเดินหายใจ
ยาออกฤทธิ์แบบเฉพาะที่หรือแบบทั่วร่างกาย
วิธีนี้ยาดูดซึมในส่วนลึกของระบบทางเดินหายใจที่มีเส้นเลือดขนาดเล็กอยู่
Eye instillation
วิธีใช้ยาหยอดยา
ถามชื่อ-นามสกุลผู้ป่วย ให้ตรงกับใบ MAR
อุ่นยาให้อุณหภูมิเท่ากับอุณหภูมิกาย
ล้างมือให้สะอาด ทำความสะอาดตาด้วยสำลีชุบ NSS
ให้ผู้ปวยนอนหรือนั่งแหงนหน้าขึ้นข้างบน พยาบาลดึงเปลือกตาล่างแล้วหยอดยา
หยอดตาตามจำนวนหยดลงไปบริเวณ Conjunctive sac ห่างประมาณ 1-2 นิ้ว
หลับตาพร้อมทั้งใชมือกดเบาๆที่ข้างจมูกบริเวณหัวตา
ซับส่วนที่เกิดออก
หากจำเป็นต้องหยอดยาหลายชนิดให้เว้นระยะ 5 นาทีเพื่อให้ยาออกฤทธิ์
วิธีใช้ยาป้ายตา
ถามชื่อ-นามสกุลผู้ป่วย ให้ตรงกับใบ MAR
ล้างมือให้สะอาด
ให้ผู้ปวยนอนหรือนั่งแหงนหน้าขึ้นข้างบน ดึงเปลือกตาล่างให้เป็นกระพุ้ง
บีบยาลงในกระพุ้งตา เริ่มจากหัวตา
หลับตา กรอกตาไปมา
หากจำเป็นต้องหยอดยาหลายชนิดให้เว้นระยะ 5 นาทีเพื่อให้ยาออกฤทธิ์
วิธีใช้ยาล้างตา
ถามชื่อ-นามสกุลผู้ป่วย ให้ตรงกับใบ MAR
ล้างมือให้สะอาด ล้างหน้าให้สะอาด
ล้างถ้วยล้างตาด้วยน้ำสบู่ เช็คให้แห้ง
ตรวจดูก่อนว่าน้ำาใสหรือขุ่น ถ้าขุ่นให้ทิ้งไป
รินน้ำให้เต็มถ้วย ก้มศรีษะใช้มือกดให้แน่น เงยหน้าขึ้น
ลืมตาในน้ำยา กรอกตาไปมา
Ear instillation
ถามชื่อ-นามสกุลผู้ป่วย ให้ตรงกับใบ MAR
อุ่นยาให้อุณหภูมิเท่ากับอุณหภูมิกาย
ล้างมือให้สะอาด ทำความสะอาดใบหูด้วยผ้าชุบน้ำ
เอียงหู หรือนอนตะแคง ให้หูข้างที่หยอดอยู่ด้านบน
หยอดยาตามจำนวนหยด ดึงใบหูขึ้นปละไปข้างหลัง
เอียงหูไว้ 2-3 นาที
หากต้องการหยอดทั้ง 2 ข้าง ให้ทำซ้ำเหมือนเดิม
Nose instillation
ให้หงายน้าขึ้น
พยาบลยกปีกจมูกขึ้นทีจะหยอดขึ้นเบาๆ
หยดผ่านรูจมูกห่าง 1-2 นิ้ว
ให้ผู้ป่วยอยู่ท่าเดิมป้องกันกันไหลของยา
การเหน็บยา
Rectum suppository
ผู่ป่วยนอนตะแคงข้างซ้าย
พยาบาลใส่ถุงมือสะอาด ยกแก้มก้นขึ้นให้เห็นรูทวารหนัก
สอดใส่เม็ดยาเข้าไป ใช้นิ้วชี้ดันยาพร้อมเขี่ยเม็ดยาให้ชิดผนังทวารหนัก
ยาเข้าไปลึกประมาณ 3-4 นิ้ว หรือ เข้าไปจนสุดนิ้วชี้
Vaginal suppository
ทำหลังการทำความสะอาอวัยวะสืบพันธ์ภายนอก
ผู้ป่วยนอนหงาย พยาบาลใส่ถงมือปราศจากเชื้อ
สอดใส่เม็ดยาไปทางช่องคลอด ใช้นิ้วดันยาลึกประมาณ 2-3 นิ้ว
ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา
Prescription error
สั่งยาผิด แพทย์สั่งยาที่มีขนดเกิน สั่งยาขนาดที่ไม่เหมาะสม
สั่งยาผิดชนิด เขียนใบสั่งยา สั่งยาคนละชนิดกับที่ควร
ผิดวิถีทาง เขียนใบสั่งยา สั่งใช้ยาผิดวิถีทาง
ผิดความถี่ เขียนใบสั่งยา วิธีรับประทานผิด
สั่งยาที่มีประวัติแพ้ แพทย์สั่งยาที่ผู้ป่วยมีการแพ้
ลายมือไม่ชัดเจน
Transcribing error
หอผู้ป่วย พยาบาลลอกคำสั่งแพทย์หรืออ่านคำสั่งไม่ถูกต้อง
ศูนย์คอมพิวเตอร์ ทำการคัดกรองข้อมูลไม่ครอบคลุม
เภสัชกรรม เจ้าหน้าที่ห้องยา เภสัชกร อ่านคำสั่งแพทย์ไม่ถูกต้อง
Dispensing error
ความคลาดเลื่อนในกระบวนการจ่ายยาของกลุ่มเภสัชกรรม จ่ายยาไม่ถูกต้องตามที่ระบุในคำสั่งใช้ยา
Administration error
การให้ยาไม่ครบ ให้ยาไม่ครบตามที่แพย์สั่ง
การให้ยาผิดชนิด
การให้ยาซึ่งผู้สั้งใช้ยาไม่ได้สั่ง
การให้ยาผิดคน
การให้ยาผิดขนาด
การให้ยาผิดวิถีทาง
การให้ยาผิดเวลา
การให้ยามากกว่าที่สั่ง
การให้ยาอัตราเร็วที่ผิด
ให้ยาผิดเทคนิค
การให้ยาผิดรูปแบบยา
บทบาทพยาบาลในการให้ยาผู้ป่วย
เมื่อผู้ป่วยเข้านอนรักาาครั้งแรก พยาบาลตรวจสอบยาให้ตรงกับคำสั่งแพทย์
การซักประวัติ ถามเรื่องการแพ้ยาทุกครั้ง ดูรายละเอียด OPD card
เมื่อมีคำสั่งใหม่ หัวหน้าเวร ลงคำสั่งใบ MAR ทุกครั้ง
การจัดยาให้ระมัดระังในการจัดยา
เวรบ่าย ตรวจสอบรายการยาในใบ MAR ให้ตรงำสั่งแพทย์ ดูช่องลิ้นชักยาอีกครั้ง
กรณีผู้ป่วยที่ NPO ให้มีป้าย NPO เพื่อผ่าผัดหรือเจาะเลือดเช้า อธิบายแนะนำผู้ป่วยและญาติทุกครั้ง
กรณีคำสั่งสารน้ำ+ยา B co 2 ml ให้เขียน +B co 2 ml ด้วยปากกาเมจิก อักษรตัวใหญ่
การจัดยาจะจัดตามหน้าซองยาหลังจากตรวจอบความถูกต้องแล้ว
มีผู้จัด-ผู้ตรวจสอบ คนละคนกันตรวจสอบซ้ำก่อนให้ยา
การแจกยาไล่แจกยาตามเตียงพร้อมเซ็นชื่อทุกครั้งหลังให้ยาและตรวจดูยาในลิ้นชักของผู้ป่วยทุกเตียง
ให้ยึดหลัก 6R
สมรรถนะของพยาบาลในการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
สมรรถนะประเมินปัญหาผู้ป่วยที่เกี่ยวข้องกับการให้ยา
การประเมินประวัติโรคประจำ ประวัติใช้ยา ประวัติแพ้ยา
ประเมินอาการข้างเคียงจากการใช้ยา
ประเมินอาการที่ดีขึ้นหรือเลวลง
ติมตามความร่วมมือในการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง
การส่งต่อ
Consider the options
พิจารณาข้อมูลที่สำคัญของผู้ป่วยที่เกี่ยวข้องกับการเลือกใช้ยา
พิจารณาข้อมูลที่สำคัญของผู้ป่วยเพื่อประกอบการปรับขนาดยา
ประเมินความเสี่ยงและประโยชน์ของกใช้ยาและไม่ใช้ยา
ใช้ความรู้ด้านเภสัชศาสตร์ของยาที่อาจมีการเปลี่ยนแปลง
พิจารณาโรคร่วม ยาที่ใช้อยู่ การแพ้ยา ข้อห้ามการใช้ยา
คำนึงถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาผู้ป่วย
พํฒนาความรู้ให้เป็นปัจจุบัน ใช้แหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้
เข้าเรื่องเชื้อดื้อยา และแนวทางการป้องกันและควบคุมเชื้อดื้อยา
Reach a shared decision
ชี้แจงทางเลือกในการรักษา
ระบุและยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล
อธิบายเหตุผลละความเสี่ยง ประโยชน์ของทางเลือกในการรักษา
ประเมินความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยเสมอ
สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วย
ทำความเข้าใจกับร่วมปรึกษาหารือก่อนใช้ยา
บริหารยาตามการสั่งใช้ยาได้อย่างถูกต้อง
เข้าใจโอกาสที่จะเกิดผลไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
เข้าใจการสั่งยาของแพทย์ตามกรอบบัญชียาหลักแห่งชาติ
ตรวจสอบและคำนวณการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
คำนึกถึงโอกาสที่จะเกิดการใช้ยาผิด
ใช้ข้อมูลที่ทันสมัยเกี่ยวกับการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
ใช้ระบบที่จำเป็นเพื่อการบริหารยาอย่างมีประสิทธิภาพ
สื่อสารข้อมูลเกี่ยวกับยาและการใช้ยาแก่ผู้เกี่ยวข้องเมื่อมีการส่งต่อข้อมูลการักษา
สามารถใช้ระบบที่จำเป็นต่อการใช้ยาอย่างเพียงพอ
ตรวจสอบความเข้าใจแลความมุ่งมั่นตั้งใจของผู้ป่วย
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับยาที่ชัดเจน เข้าใจง่าย
แนะนำผู้ป่วย ผู้ดูแลเกี่ยวกับแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ในเรื่องยา
สร้างความมั่นใจให้ผู้ป่วย ผู้ดูแล ว่าจัดการอย่างไรในกรณีที่มีอาการไม่ดีขึ้น
สนับสนุนผู้ป่วย ผู้ดูแลให้มีส่วนรับผิดชอในการจัดการตนเองเรื่องยาและภาวะเจ็บป่วย
สามารถติตามผลการรักษา และรายงานผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ยา
ทบทวนแผนการบริหารยาให้สอดคล้องกับแผนการรักษา
ต้องมีการติดตามประสิทธิภาพของการรักษาละอาการข้างเคียง
ค้นหาและรายงานอาการไม่พึ่งประสงค์จากการใช้ยา
ปรับแผนการบริหารยาให้ตอบสนองต่ออาการและคววามต้องการ
Prescribe
รู้เกี่ยวกับชนิด สาเหตุ ของความคลาดเคลื่อนทางยาที่พบบ่อย
ระบุความเสี่ยงที่อาเกิดขึ้นจากการสั่งยาสื่อหรือบุคลอื่น
พัฒนาหาความรู้ให้ทันสมัยอู่เสมอในประเด็นใหม่ที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับความปลอดภัย
รายงานความเคลาดเคลื่อนในการใช้ย และ ทบทวนการปฏิบัติเพื่อป้องกันการเกิดซ้ำ
Prescribe professionally
มั่นใจว่าพยาบาลสามารถสั่งยาได้ตาม พรบ
ยอมรับความรับผิดชอบส่วนบุคคลในการสั่งยา
รู้และทำงานภายใต้กฎหมาย ระเบียบข้อบงคับ
Improve prescring
สะท้อนคิดการบิหารยาของตนเองและการสั่งยาของผู้เกี่ยวข้อง
เข้าใจและใช้เครื่องมือหรือกลไกที่เหมาะสม
Prescribe as part of a team
มีส่วนร่วมกับสหวิชาชีพเพื่อให้มั่นใจว่าการดูแลมีความต่อเนื่อง
สร้างสัมพันธาพกับทีมสหวิชาชีพ
กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาทางปากและเฉพาะที่
การประเมินสภาพ
ประเมินดูว่าผู้ป่วยมีข้อความในการให้ยาทางปากหรือไม่
ประวัติการแพ้ยา
ประเมินผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การได้รับสารน้ำเพียงพอหรือไม่
ความรู้ความเข้าใจเรื่องยาที่ได้รับ
การปฏิบัติตัวในการได้รับยา
การวินิจฉัยการพยาบาล
การกลืนบกพร่อง เนื่องจาก.........
เสี่ยงต่อการสำลัก เนื่องจาก.........
ขาดความู้เกี่ยวกับยา เนื่องจาก.........
การวางแผนการพยาบาล
สามารถรับยาได้จนครบ
ผลของยามีประสิทธิภาพ
ไม่มีอาการไม่พึงประสงค์
ไม่มอาการแพ้ยา
ไม่มีอาการสำลัก
การปฏิบัติการพยาบาล
ยึดหลักความถูกต้อง 7 ประการ
การประเมินผล
หลังจากให้ยา 30 นาที มีอาการแพ้หรือไม่
สามรถบอกการปฏิบัติตัวขณะให้ยาได้อย่างถูกต้อง
สามารถอธิบายวัตถุประสงค์ของการให้าได้ถูกต้อง