Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม - Coggle Diagram
การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม
ความหมายของวัฒนธรรม (Culture) ัฒนธรรมคือสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นมา เป็นเครื่องมือที่มนุษย์คิดค้นเพื่อช่วยให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ต่อไปได้ในสังคมของตน
พื้นฐานที่สำคัญของ
วัฒนธรรม
วัฒนธรรมมีพื้นฐานมาจากการใช้สัญลักษณ์ (Symbol)
วัฒนธรรมเป็นองค์รวมของความรู้และภูมิปัญญา
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่มนุษย์เรียนรู้ (Culture is learned)
วัฒนธรรมคือกระบวนการที่มนุษย์นิยามความหมายให้กับชีวิตและสิ่งต่างๆ
วัฒนธรรมเป็นความคิดร่วม (Shared ideas)
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ไม่หยุดนิ่ง มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
วัฒนธรรมออกเป็น 2 ประเภท
วัฒนธรรมทางวัตถุ (material culture)
วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ (non-material culture)
องค์ประกอบของวัฒนธรรม
องค์การหรือสมาคม (Organization หรือ Association)
องค์พิธีหรือพิธีการ (Usage หรือ Ceremony)
องค์วัตถุ (Material)
องค์มติหรือมโนทัศน์ (Concepts)
ความสำคัญของวัฒนธรรม
ทำให้เกิดความสงบเรียบร้อยในสังคม
ทำให้มีพฤติกรรมเป็นแบบเดียวกัน
ทำให้มีความรู้สึกเป็นพวกเดียวกัน
ทำให้เข้ากับคนพวกอื่นในสังคมเดียวกันได้
ทำให้มนุษย์มีสภาวะที่แตกต่างจากสัตว์
การศึกษาวัฒนธรรมจะทำให้เข้าใจชีวิตความเป็นอยู่ ค่านิยมของสังคม
วัฒนธรรมเป็นเครื่องกำหนดความเจริญหรือความเสื่อมของสังคม
คุณค่า ความเชื่อ ค่านิยมทางสังคมที่มีผลต่อหลักการในการดำเนินชีวิต หมายถึง การยอมรับคำอธิบายเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์หนึ่ง ๆ ที่บุคคลได้จากการรับรู้และเรียนรู้ร่วมกันในสังคม และถ่ายทอดสืบต่อกัน
ประเภทของความเชื่อ
ความเชื่อแบบประเพณี
ความเชื่อแบบเป็นทางการ
ความเชื่อขั้นพื้นฐานของบุคคล
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเชื่อ
ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม
ปัจจัยทางด้านบุคคล
ปัจจัยทางด้านจิตวิทยา
ความเชื่อในสิ่งปรากฏอยู่จริง
ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรคและวิธีการดูแลสุขภาพ
ความเชื่อแบบการแพทย์แผนตะวันตก
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพในช่วงเปลี่ยนผ่านสถานการณ์ชีวิต
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการเกิดแบบพื้นบ้าน
ระยะคลอดบุตร
ระยะหลังคลอด
ระยะตั้งครรภ์
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการเกิดแบบแพทย์ตะวันตก
ความเชื่อแบบพื้นบ้าน
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความชรา
แบบพื้นบ้าน
แบบการแพทย์แผนตะวันตก
ความเชื่อแบบอำนาจเหนือธรรมชาติ
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตาย
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตายแบบพื้นบ้าน
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตายแบบแพทย์แผนตะวันตก
ค่านิยมทางสังคม ค่านิยมทางสังคมถือได้ว่าเป็นวัฒนธรรมที่กำหนดพฤติกรรมของสมาชิกสังคมนั้นๆ โดยตรง
ปัจจัยที่ทำให้เกิดค่านิยมในสังคม
สถาบันศาสนา
สังคมวัยรุ่นและกลุ่มเพื่อน
โรงเรียน
สื่อมวลชน
ครอบครัว
องค์การของรัฐบาล
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพและการแสวงหาการรักษาของประชาชนในภูมิภาคต่างๆของโลก
ประเภทของวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพในสภาวะปกติ
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการป้องกันโรค
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพในสภาวะเจ็บป่วย
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการรักษาโรค
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการฟื้นฟูสมรรถภาพ
ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ แบ่งได้ตามประโยชน์และโทษ
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ไม่ได้ให้ประโยชน์
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ไม่แน่ว่าให้คุณหรือโทษ
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ส่งเสริมสุขภาพ
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ให้โทษ
แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
ป้องกันไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยหรือพิการ
ดูแลรักษาสุขภาพเมื่ออยู่ในภาวะเจ็บป่วยเป็นโรค
ส่งเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
ฟื้นฟูสุขภาพให้เข้าสู่ภาวะปกติ
แนวทางการดูแลสุขภาพที่เกิดขึ้นเป็นวัฒนธรรมของการดูแลสุขภาพ
ระบบการดูแลสุขภาพภาคพื้นบ้าน (Folk sector of care)
ระบบการดูแลสุขภาพภาคประชาชน (Popular health sector)
ระบบการดูแลสุขภาพภาควิชาชีพ (Professional health sector)