Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบต่อมไร้ท่อ Endocrine System - Coggle Diagram
ระบบต่อมไร้ท่อ
Endocrine System
ต่อมใต้สมอง
(Pituitaty Gland)
Grow Hormone (GH)
วัยเด็ก
ถ้ามีการผลิต GH น้อยเกินไป อาจส่งผลให้ร่างกายเกิดความผิดปกติ เช่น ร่างกายเตี้ยแคระแกรน แกรน เรียก Dwarfism
ถ้ามีการผลิต GH มากเกินไป รวมถึงการได้รับประทาน GH จนเกินความจำเป็นอาจส่งผลทำให้รูปร่างกายเกิดความผิดปกติได้ เช่น แขนขายาว สูงผิดปกติ เรียกว่า Gigantism
เด็กที่ขาด growth hormone
มีหน้าตาที่อ่อนกว่าอายุจริง
รูปร่างเตี้ยเล็กแต่สมส่วน อ้วนกลมเนื่องจากมีไขมัน สะสมบริเวณลำตัวมาก
ถ้าเป็นเด็กชายมักมีอวัยวะเพศไม่สมวัย
ภาวะขาด growth hormone ไม่มีผลกระทบต่อระดับสติปัญญาของเด็ก
เป็นฮอร์โมนชนิดโปรตีน หรือเปปไทด์ฮอร์โมน
ผลิตจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า และมีผลต่อการเจริญเติบโต การทำงานของอวัยวะทุกส่วนของร่างกาย รวมทั้ง metabolism ของร่างกาย
สามารถหลั่งได้ตลอดชีวิต โดยระดับการหลั่งจะหลั่งมากเป็นพิเศษในช่วงวัยเจริญเติบโต
วัยผู้ใหญ่
เกิดหลังจากมีสร้าง endochondral bone เรียบร้อยและ epiphysis ปิดแล้ว
ทำให้รูปร่างของร่างกายผิดปกติ คือ ผิงหนังหนา หน้าผากยื่น คางยื่น ลิ้นโต คับปาก อวัยวะภายในจะใหญ่ ร่างกายเทอะทะ มื้อเท้าใหญ่ เรียกว่า Acromegaly
หากมีการผลิต GH หรือ รับประทาน GH มากเกินไป
ต่อมหมวกไต
(Adrenal gland)
Adernocorticotrophic hormone : ACTH
สร้างจาก corticotropic cell
ควบคุมการทำงานของ adrenal cortex
กระตุ้นให้สร้างฮอร์โมน Glucocorticoids และ Mineralocorticoids
ถ้าฮอร์โมนนี้น้อยเกินไปจำทำให้เกิดโรค เรียกว่า Addison's disease
มีอการซูบผอม รับประทานอาหารไม่ได้ อาเจียน ท้องเสีย
สูญเสียการรักษาสมดุลของแร่ธาตุ ทำให้สับสนและถึงแก่ความตาย
ฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์ (giucocorticoids)
ฮอร์โมนที่สำคัญในกลุ่มนี้ได้แก่ คอร์ติซอล (cortisol)
เป็นฮอร์โมนที่จำเป็น (essential hormone) ที่มีความสำคัญต่อชีวิต
หน้าที่เพิ่มระดับนํ้าตาลในกระแสเลือดและเก็บในรูปไกลโคเจน แล้วเปลี่ยนจากไกลโคเจน แล้วเปลี่ยนจากไกลโคเจนให้เป็นกลูโคส
Cushing's syndrome
เป็นกลุ่มอาการที่เกิดจากร่างกายมีฮอร์โมน Glucocorticoid (หรือ Cortisol) มากเกินปกติ
Cortisol
เป็นฮอร์โมนที่เกี่ยวกับความเครียด เมื่อมีเหตุการณ์คับขันวิตกกังวลหรืออาการป่วยไข้ของร่างกาย
กระตุ้นการตอบสนองของเซลล์ต่อการอักเสบ ความเจ็บปวด การติดเชื้อและกระตุ้นให้ตับสร้างนํ้าตาลมากขึ้น
ควบคุมระดับนํ้าและเกลือแร่ในร่างกาย เพื่อรักษาระดับความดันโลหิตให้ทำงานปกติ
Minerlocorticoid hormone
ฮอร์โมนที่สำคัญในกลุ่มนี้ได้แก่ Aldosterone
ทำหน้าที่ควบคุมความสมดุลของนํ้าและเกลือแร่ในร่างกาย
เพิ่มการดูดกลับของโซเดียมและเพิ่มการขับโปตัสเชื่อมที่ distal renal tubules ทำให้โซเดียม เพิ่มขึ้นในกระแสเลือดและมีโปตัสเซียมมากขึ้นในปัสสาวะ
ประกอบด้วย
ต่อมหมวกไตต้านใน(Adrenal medulla)
ต่อมหมวกไตด้านนอก (Adrenal cortex)
Adrenal Medulla
ฮอร์โมน Epinephrine/ Adrenaline
เปลี่ยนไกลโคเจนให้เป็นกลูโคสเข้าสู่กระแเสเลือด การเผาผลาญอาหารเพิ่มชึ้น
กระตุ้นให้หัวใจบีบตัวแรงและเร็วขึ้น ทำให้เลือดนำออกซิเจนและกลูโคสไปให้เซลล์ร่างกายได้มากขึ้น
ฮอร์โมน Nor-Epinephrine/Nor-Adrenaline
เปลี่ยนไกลโคเจนในตับให้เป็นกลูโคสเข้าสู่กระแสเลือดทำมีระดับกลูโคสเพิ่มขึ้นในกระแสเลือด
กระตุ้นให้หัวใจบีบตัวแรงและเร็วขึ้น ทำให้เลือดนำออกซิเจนและกลูโคสไปให้เซลล์ร่างกายได้มากขึ้น
ต่อมไทรอยด์
(Thyroid)
Calcitonin
เป็นโปรตีนฮอร์โมน
สังเคราะห์จากต่อมไทรอยด์ โดยกลุ่มเซลล์ parafollicular cell (C-cell)
มีหน้าที่ลดระดับแคลเซียมในกระแสเลือด(รวมทั้งฟอสเฟต) โดยนำไปเก็บที่กระดูก
Hyperthyrodiium
แบ่งเป็น 3 ประเภท
ไทรอยด์เป็นพิษชนิดก้อนตะปุ่มตะปํ่า (Toxic multinodular goiter)
ไทรอยด์เป็นพิษชนิอก้อนเดี่ยว(Toxic nodule)
ชนิดโตทั่วไป (Graves'disease)
ประกอบด้วยเซลล์ 2 ชนิด คือ
Parafollicular cells (clear cells) แทรกอยู่กับ follicular cells สร้างและหลั่ง Caictonin
Follicular cells เป็น simpie cuboidal epithlium สร้างและหลั่ง iodine- containing hormone T4 (thyroxine หรือ contaiodothyroninำ) และ T3 thyiodothyronine
ควบคุมการเผาผลาญอาหารและเพิ่มนํ้าตาลในกระแสโลหิต
ทำหน้าที่จับไอโอดีนจากอาหารที่รับประทานเข้าไปแล้วนำไปรวมกับกรดอะมิโน Tyrosine เพื่อสร้างไทรอยฮอร์โมน triiodothvronine(T3) และ thyroxine (T4)
ต่อมพาราไทรอยด์ (Parathyroid gland)
ผลิตฮอร์โมนพาราโทโมน (Parathyroid gland)
ควบคุมปริมาณแคลเซียมและฟอสฟอรัสในเลือดและช่วยการทำงานของรบบประสาท
ต่อม Pancreas
ควบคุมปริมาณนํ้าตาลในโลหิตกระตุ้นให้ตับเปลี่นนํ้าตาลเป็น Glycogen ไปเก็บไว้ในตับอ่อน
ผลิตฮอร์โมนอินซูลิน (lnsulin)
ต่อมเพศ (Gonads)
ควบคุมการทำงานของอวัยวะเพศและลักษณะอวัยวะเพศ
ผลิตฮอร์โมนแอนโดรเจน (Androgen) ในเพศชาย และ เอสโตรเจน (Estrogen) ในเพศหญิง
โรคเบาหวาน
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
โรคเบาหวาน ชนิดพึ่งอินซูลิน (lnsulin-dependent diabetes) พบน้อย แต่มีความรุนแรงและอันตรายสูง มักพบในเด็กและคนอายุตํ่ากว่า 25 ปี
โรคเบาหวาน ชนิดไม่พึ่งอินซูลิน (Not-lnsulin-dependent diabetes) เป็นที่พบส่วใหญ่ มีความรุนแรงน้อย มักพบในคนอายุมากกว่า 40 ปีขึ้นไป
ภาวะที่ร่างกายมีระดับนํ้าตาลในเลือดสูงกว่าปกติเนื่องจากร่างกายไม่สามารถนำนํ้าตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ
เกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับออ่นปล่อยฮอร์โมน เรียกว่า อินซูลิน ออกมาไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
ฮอร์โมน Oxytocin
ความผิดปกติในการหลั่งฮอร์โมน Oxytocin
เมื่อให้แก่ผู้คลอดแล้ว ต้องมีการดูแลอย่างใกล้ชิด มิฉะนั้นอาจทำให้มดลูกแตก
ในการคลอดถ้าฮอร์โมน Oxytocin ที่หลั่งตามธรรมชาติไม่เพียงพอ จะทำให้คลอดล่าช้า
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
กระตุ้นการหลั่งนํ้านม (milk ejection) ทำให้กล้ามเนื้อของต่อมนํ้านมบีบตัวให้หลั่งนํ้านมออกมา
กระตุ้นการหดตัวของกล้ามเนื้อเรียบของมดลูกของหญิงมีครรภ์ในการคลอดบุตรระยะใกล้คลอด
ความผิดปกติของฮอร์โมน
Antiduretic hormone (ADH)
ทำให้มีการดูดซึมนํ้ากลับที่หลอดฝอยของไต ทำให้ปัสสาวะน้อย
กระตุ้นการหดตัวของกล้ามเนื
Dysfunction uterine bleeding (DUB)
เป็นภาวะเลือดออกผิดปกติจากมดลูก
เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนเพศ