Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้, นางสาวปิยาพร สุขรี่ TIE3N รหัส 61322110239…
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดมุ่งหมายของการวัดประเมินผลการเรียนรู้
1) เพื่อนำผลการประเมินไปใช้ในการปรับปรุงการเรียนรู้ของผู้เรียน
2) ทำให้ทราบจุดอ่อนจุดแข็งของผู้เรียนเป็นรายบุคคล และสามารถนำสารสนเทศไปใช้ วางแผนแก้ไขปัญหาผู้เรียนเป็นรายบุคคลได้อย่างเหมาะสม
3) ประเมินประสิทธิภาพของกิจกรรมและวิธีการเรียนการสอนที่ผู้สอนใช้ในการเรียนการสอน
4) ประเมินและปรับปรุงประสิทธิภาพของหลักสูตร
5) ประเมินและปรับปรุงประสิทธิภาพการสอนของผู้สอน
6) สื่อสารให้ผู้ปกครอง ชุมชน สังคมทราบผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
หลักการของการวัดประเมินผลการเรียนรู้
1) การวัดประเมินผล ผู้เรียนควรเป็นกระบวนการที่กระทำต่อเนื่องเพื่อดูพัฒนาการ
2) ควรใช้ข้อมูลจากหลายแหล่งและครอบคลุมสิ่งที่ต้องการวัดหลายด้าน เพราะการศึกษา มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาผู้เรียน
3) ควรเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือวัดผลให้สอดคล้องกับสิ่งที่จะวัด
4) ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการวัดประเมินผลการเรียนรู้ ควรประกอบด้วยบุคคลหลายฝ่าย
5) การประเมินตนเองเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของการวัดประเมินผล
6) การวัดประเมินผลและกระบวนการจัดการเรียนการสอนเป็นสิ่งที่สัมพันธ์กันการประเมินผลต้องมีส่วนช่วยให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ
การวัดผลการเรียนรู้
1) ความตรง (validity)
(1) ความตรงตามจุดประสงค์ของการวัด (objective-validity)
(2) ความตรงตามเนื้อหา (content validity)
(3) ความตรงตามเกณฑ์ (criterion validity)
(4) ความตรงตามภาวะสันนิษฐาน (construct validity)
2) ความเชื่อมั่น (reliability)
เป็นคุณภาพของเครื่องมือในการวัดในสิ่งเดียวกันได้ผล อย่างเดียวกัน
ความคงเส้นคงวาของผลที่ได้จากการวัด
3) การนำไปใช้ (practicality)
เป็นคุณภาพของเครื่องมือที่พิจารณาจากค่าใช้จ่ายและ เวลาที่ใช้ตลอดจนความสะดวกในการใช้
การพัฒนาเครื่องมือวัดผลให้มีคุณภาพนั้นจำเป็นต้องอาศัย ทรัพยากรและเวลา
การประเมินผลการเรียนรู้
เกณฑ์การประเมินผลการเรียนรู้ แบ่งได้ 2 เกณฑ์
1) อิงกลุ่ม (norm-referenced assessment)
2) อิงเกณฑ์ (criteria-referenced assessment)
การประเมินตามสภาพจริง (authentic assessment)
การประเมินการแสดงออกและกระบวนการ (performance and process)
การประเมินกระบวนการและผลผลิต (process and products)
การประเมินด้วยแฟ้มสะสมงาน (portfolio assessment)
1.กำหนดโครงสร้างของแฟ้มสะสมงานจากวัตถุประสงค์ของแฟ้มสะสมงานว่าต้องการ
2) กำหนดวิธีการเก็บรวบรวมผลงานให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของแฟ้มสะสมงาน
3) กำหนดให้วิธีการประเมินงานเพื่อพัฒนาชิ้นงานซึ่งส่งผลถึงการพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถสูงสุด
4) ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือในการพัฒนางานโดยการมีส่วนร่วมในการประเมินจาก ทุกฝ่าย
5) จัดให้มีการน าเสนอผลงานที่ได้สะสมไว้โดยใช้วิธีการที่เหมาะสม
นางสาวปิยาพร สุขรี่ TIE3N รหัส 61322110239-2