Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์, 4-6, unnamed, tnc…
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
วิวัฒนาการของกฎหมายวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
วิวัฒนาการของกฎหมายวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
การบาบัดโรคทางยาและทางผ่าตัด รวมทั้งการผดุงครรภ์ การช่างฟัน การสัตวแพทย์ การปรุงยา การพยาบาล
พ.ศ. 2472-2480
พระราชบัญญัติควบคุมการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2479
แผนโบราณหมายถึง การประกอบโรคศิลปะโดยอาศัยความรู้จากตาราหรือการเรียนสืบต่อกันมา
แผนปัจจุบัน หมายถึง การประกอบโรคศิลปะ
อันได้ศึกษาตามหลักทางวิทยาศาสตร์
5 กันยายน พ.ศ.2528 ได้มีการประกาศใช้ “พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. 2528” และมีผลบังคับใช้ในวันที่ 6 กันยายน พ.ศ.2528
พ ศ 2534
คำนิยามการพยาบาลและการผดุงครรภ์
การกาหนดขอบเขตของการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
จานวนกรรมการสภาการพยาบาล
การเลือกนายกสภาการพยาบาล
การสอบขอขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ และการต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ทุก 5 ปี
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. 2528 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2540”
บังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2540 จวบจนถึงปัจจุบัน
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์สาหรับพยาบาลและการกระทาความผิดที่พบบ่อย
กฎหมายแพ่งเป็นส่วนหนึ่งในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่กำหนดสิทธิ หน้าที่ และความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
กฎหมายพาณิชย์: เป็นกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการค้าขายหรือกิจการใดๆ ที่ได้กระทาในเรื่องหุ้นส่วน
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง: เป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับวิธีการดาเนินพิจารณาพิพากษาคดีในกรณีที่เกิดข้อพิพาทในทางแพ่งขึ้น
นิติกรรม
องค์ประกอบ
ผู้กระทาต้องแสดงออกในฐานะที่เป็นเอกชน
การกระทาโดยเจตนา
การแสดงเจตนาโดยชัดแจ้ง
การแสดงเจตนาโดยปริยาย
การกระทาที่ชอบด้วยกฎหมาย
ทาให้เกิดการเคลื่อนไหวสิทธิ
ประเภท
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามจานวนคู่กรณี
นิติกรรมฝ่ายเดียว
นิติกรรมหลายฝ่าย
2.นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามการมีผลของนิติกรรม
นิติกรรมที่มีผลขณะผู้แสดงเจตนายังมีชีวิต
นิติกรรมที่มีผลขณะผู้แสดงเจตนาไม่มีชีวิต
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามค่าตอบแทน
นิติกรรมที่มีค่าตอบแทน
นิติกรรมที่ไม่มีค่าตอบแทน
ความรับผิดทางแพ่งที่เกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
สัญญา และความรับผิดจากการละเมิด
สัญญา หมายถึง การกระทำของบุคคลตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป ที่แสดงเจตนาด้วยใจสมัครถูกต้องตรงกันที่จะกระทำหรืองดเว้นการกระทา และตกลงกันทุกข้อโดยไม่มีข้อสงสัย
ความรับผิดจากการละเมิด
การกระทาต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย
การกระทำโดยจงใจหรือประมาท
ทำให้บุคคลอื่นเสียหาย
บุคคลต้องร่วมรับผิดกับผู้กระทำ
นายจ้างต้องร่วมรับผิดกับลูกจ้างในผลแห่งการละเมิด
ตัวการต้องรับผิดชอบผลแห่งการละเมิดของตัวแทนที่ได้กระทาไปภายในของเขตอานาจของตัวแทน
บิดามารดาของผู้เยาว์หรือผู้อนุบาลของผู้วิกลจริต
ครูบาอาจารย์ นายจ้างหรือบุคคลอื่น ซึ่งรับดูแลผู้ไร้ความสามารถอยู่เป็นนิตย์
อายุความ
ผู้เสียหายมีสิทธิเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนอันเกิดจากการละเมิดภายใน
1 ปี นับแต่วันที่รู้เรื่องการละเมิดและรู้ตัว
ผู้กระทำละเมิด และไม่เกิน 10 ปี นับแต่วันทำละเมิด
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่เกี่ยวข้อง
มาตรา ๑๕ สภาพบุคคลย่อมเริ่มแต่เมื่อคลอดแล้วอยู่รอดเป็นทารกและสิ้นสุดลงเมื่อตาย
มาตรา ๑๙ บุคคลย่อมพ้นจากภาวะผู้เยาว์และบรรลุนิติภาวะเมื่อมีอายุยี่สิบปีบริบูรณ์
มาตรา ๒๐ ผู้เยาว์ย่อมบรรลุนิติภาวะเมื่อทาการสมรส
มาตรา ๒๑ ผู้เยาว์จะทานิติกรรมใดๆ ต้องได้รับความยินยอมของผู้แทนโดยชอบธรรมก่อน การใดๆ
มาตรา ๒๒ ผู้เยาว์อาจทาการใด ๆ ได้ทั้งสิ้น หากเป็นเพียงเพื่อจะได้ไปซึ่งสิทธิอันใดอันหนึ่ง
มาตรา ๒๓ ผู้เยาว์อาจทาการใดๆ ได้ทั้งสิ้น ซึ่งเป็นการต้องทาเองเฉพาะตัว
มาตรา ๒๔ ผู้เยาว์อาจทาการใดๆ ได้ทั้งสิ้น ซึ่งเป็นการสมแก่ฐานานุรูปแห่งตน
มาตรา ๒๕ ผู้เยาว์อาจทาพินัยกรรมได้เมื่ออายุสิบห้าปีบริบูรณ์
มาตรา ๒๖ ถ้าผู้แทนโดยชอบธรรมอนุญาตให้ผู้เยาว์จาหน่ายทรัพย์สินเพื่อการอันใดอันหนึ่งอันได้ระบุไว้ ผู้เยาว์จะจาหน่ายทรัพย์สินนั้นเป็นประการใดภายในขอบของการที่ระบุไว้นั้นก็ทาได้ตามใจสมัคร
มาตรา ๒๗ ผู้แทนโดยชอบธรรมอาจให้ความยินยอมแก่ผู้เยาว์ในการประกอบธุรกิจทางการค้าหรือธุรกิจอื่นได้
มาตรา ๒๘ บุคคลวิกลจริตผู้ใด ถ้าคู่สมรส ผู้บุพการี ผู้สืบสันดานผู้ปกครองหรือผู้พิทักษ์ พนักงานอัยการ ร้องขอต่อศาลให้สั่งให้บุคคลวิกลจริต ผู้นั้นเป็นคนไร้ความสามารถ ศาลจะสั่งให้บุคคลวิกลจริตผู้นั้นเป็นคนไร้ความสามารถก็ได้
การใดกระทำลงโดยฝ่าฝืนบทบัญญัติมาตรานี้ การนั้นเป็นโมะฆียะ
มาตรา ๖๑ ถ้าบุคคลใดได้ไปจากภูมิลาเนาหรือถิ่นที่อยู่ และไม่มีใครรู้แน่ว่าบุคคลนั้นยังมีชีวิตอยู่หรือไม่ตลอดระยะเวลาห้าปี เมื่อผู้มีส่วนได้เสียหรือพนักงานอัยการร้องขอ ศาลจะสั่งให้บุคคลนั้นเป็นคนสาปสูญก็ได้
มาตรา ๖๒ บุคคลซึ่งศาลได้มีคาสั่งให้เป็นคนสาบสูญ ให้ถือว่าถึงแก่ความตายเมื่อครบกาหนด
ระยะเวลาดังที่ระบุไว้
มาตรา ๖๔ คาสั่งศาลให้เป็นคนสาบสูญหรือคาสั่งถอนคาสั่งให้เป็นคนสาบสูญ ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
มาตรา ๖๕ นิติบุคคลจะมีขึ้นได้ก็แต่ด้วยอาศัยอานาจแห่งประมวลกฎหมายนี้
มาตรา ๘๓ สมาคมที่ได้จดทะเบียนแล้วเป็นนิติบุคคล
มาตรา ๑๒๒ มูลนิธิที่ได้จดทะเบียนแล้วเป็นนิติบุคคล
มาตรา ๑๕๐ การใดมีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย เป็นการพ้นวิสัย
มาตรา ๑๕๑ การใดเป็นการแตกต่างกับบทบัญญัติของกฎหมาย
มาตรา ๑๕๒ การใดมิได้ทาให้ถูกต้องตามแบบที่กฎหมายบังคับไว้ การนั้นเป็นโมฆียะ
มาตรา ๑๕๙ การแสดงเจตนาเพราะถูกกลฉ้อฉลเป็นโมฆียะ
มาตรา ๑๖๔ การแสดงเจตนาเพราะถูกข่มขู่เป็นโมฆียะ
มาตรา ๑๗๓ ถ้าส่วนหนึ่งส่วนใดของนิติกรรมเป็นโมฆียะ นิติกรรมนั้นย่อมตกเป็นโมฆียะทั้งสิ้น
มาตรา ๑๗๔ การใดเป็นโมะะแต่เข้าลักษณะเป็นนิติกรรมอย่างอื่นซึ่งไม่เป็นโมฆียะ
มาตรา ๑๗๖ โมฆียะกรรมเมื่อบอกล้างแล้ว ให้ถือว่าเป็นโมะะมาแต่เริ่มแรก
มาตรา ๑๘๑ โมะียะกรรมนั้นจะบอกล้างมิได้เมื่อพ้นเวลาหนึ่งปีนับแต่เวลาที่อาจให้สัตยาบันได้
มาตรา ๔๒๐ ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิต ร่างกาย ผู้นั้นต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น
มาตรา ๔๒๕ นายจ้างต้องร่วมกันรับผิดกับลูกจ้างในผลแห่งละเมิด
มาตรา ๔๒๖ นายจ้างซึ่งได้ใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่บุคคลภายนอกเพื่อละเมิดอันลูกจ้างได้ทำ
มาตรา ๔๓๐ ครูบาอาจารย์ นายจ้าง รับดูแลบุคคลผู้ไร้ความสามารถอยู่เป็นนิตย์ จำต้องรับผิดร่วมกับผู้ไร้ความสามารถในการละเมิด
มาตรา ๔๓๘ ค่าสินไหมทดแทนจะพึงใช้โดยสถานใดเพียงใดนั้น ให้ศาลวินิจฉัยตามควรแก่พฤติการณ์และความร้ายแรงแห่งละเมิด
มาตรา ๔๔๓ ในกรณีทาให้เขาถึงตายนั้น ค่าสินไหมทดแทนได้แก่ค่าปลงศพรวมทั้งค่าใช้จ่ายอันจำเป็นอย่างอื่น ๆ อีกด้วย
มาตรา ๔๔๔ ในกรณีทำให้เสียหายแก่ร่างกายหรืออนามัยนั้น ผู้ต้องเสียหายจะได้ชดใช้ค่าใช้จ่ายค่าเสียหาย เพื่อการที่เสียความสามารถประกอบการงานสิ้นเชิง ทั้งในเวลาปัจจุบันและในเวลาอนาคต
มาตรา ๔๔๖ ในกรณีทำให้เขาเสียหายแก่ร่างกายหรืออนามัย ในกรณีทำให้เขาเสียเสรีภาพ ผู้ต้องเสียหายจะเรียกร้องเอาค่าสินไหมทดแทนก็ได้
มาตรา ๑๔๔๘ การสมรสจะทาได้ต่อเมื่อชายและหญิงมีอายุสิบเจ็ดปีบริบูรณ์แล้ว
มาตรา ๑๕๙๙ เมื่อบุคคลใดตาย มรดกของบุคคลนั้นตกทอดแก่ทายาท
มาตรา ๑๗๐๓ พินัยกรรมซึ่งบุคคลที่มีอายุยังไม่ครบสิบห้าปีบริบูรณ์ทาขึ้นนั้น เป็นโมฆะ
มาตรา ๑๗๐๔ พินัยกรรมซึ่งบุคคลผู้ถูกศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถทาขึ้นนั้น เป็นโมฆะ
กฎหมายอาญาสาหรับพยาบาลและการกระทาความผิดที่พบบ่อย
ประเภทของความรับผิดทางอาญา
ความผิดต่อแผ่นดิน
ความผิดต่อส่วนตัว
ลักษณะสาคัญของความรับผิดทางอาญา
ต้องมีบทบัญญัติความผิด และกำหนดโทษไว้โดยชัดแจ้ง
ต้องตีความเคร่งครัดตามตัวอักษร
ไม่มีผลย้อนหลังที่เป็นโทษ
หลักเกณฑ์ความรับผิดทางอาญา
กฎหมายบัญญัติว่าการกระทานั้นเป็นความผิดและกำหนดโทษ
กระทำโดยเจตนา ประมาท หรือไม่เจตนา
กระทำโดยเจตนา ประมาท หรือไม่เจตนา
การกระทาโดยประมาท (Negligence)
การกระทาโดยไม่เจตนา
เหตุยกเว้นความรับผิดทางอาญา
เหตุยกเว้นความรับผิด
การป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย
ผู้เสียหายยินยอมให้กระทำ
เหตุยกเว้นโทษ
กระทำด้วยความจาเป็น
การกระทำผิดเพราะความบกพร่องทางจิต
การกระทำตามคาสั่งของเจ้าพนักงาน
การกระทาของเด็กอายุไม่เกิน 10 ปี
การกระทาความผิดเกี่ยวกับทรัพย์
เหตุลดหย่อนโทษ
การกระทาความผิดโดยไม่รู้ว่ากฎหมายบัญญัติว่าเป็นความผิด
การกระทาโดยบันดาลโทสะ
เหตุอื่นๆ ในการลดหย่อนหรือบรรเทาโทษ
อายุความ
อายุความฟ้องคดีทั่วไป
อายุความฟ้องคดีความผิดอันยอมความได้
โทษทางอาญา
โทษประหารชีวิต
โทษจำคุก
โทษกักขัง
โทษปรับ
โทษริบทรัพย์สิน
ความรับผิดทางอาญาที่เกี่ยวกับการปฏิบัติการพยาบาล
การเปิดเผยความลับของผู้ป่วย (Confidential disclosure)
จำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ความผิดฐานเปิดเผยความลับมีข้อยกเว้นตามหลักเกณฑ์
เป็นข้อผูกพันหรือหน้าที่
โรคติดต่อร้ายแรงเสี่ยงต่อการแพร่ระบาด
คำสั่งศาล
ผู้ป่วยรับรู้และยินยอมให้เปิดเผย
รายงานการทุบตีทาร้ายร่างกายในครอบครัว
ความประมาทในการประกอบวิชาชีพ (Malpractice / Professional misconduct)
ความบกพร่องด้านการสื่อสาร (Failure to communication)
ความบกพร่องด้านการบันทึก (Failure to document)
ใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์การแพทย์ไม่ถูกต้อง
(Failure to use equipment in a responsible manner)
ความบกพร่องด้านการประเมินและเฝ้าระวังอาการ (Failure to assess and monitor)
ไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ (Failure to follow standard of care)
ความบกพร่องด้านการไม่พิทักษ์สิทธิของผู้ป่วย (Failure to act as patient advocate)
บทลงโทษตามกฎหมายอาญาในความผิดฐานประมาท
ประมาททำให้ผู้อื่นได้รับอันตรายเล็กน้อยแก่ร่างกายหรือจิตใจ
จำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ประมาททำให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส จำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ประมาททำให้ผู้อื่นได้รับอันตรายถึงแก่ความตาย
จำคุกไม่เกิน 10 ปี และปรับไม่เกิน 200,000 บาท
การปฏิเสธความช่วยเหลือผู้ที่ตกอยู่ในอันตรายต่อชีวิต
จำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
การทอดทิ้งหรือละเลยผู้ป่วย
จำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร: การปลอมเอกสารและการทำเอกสารเท็จ
ความผิดฐานทาหรือรับรองเอกสารเท็จ
ความผิดฐานปลอมเอกสาร
จำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
6.การทำให้หญิงแท้งลูก (Induced abortion)
การทาให้หญิงแท้งลูกโดยผู้เสียหายไม่ยินยอม จำคุกไม่เกิน 7 ปี หรือปรับไม่เกิน 140,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
การทำให้หญิงแท้งลูกโดยผู้เสียหายยินยอม จำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
การทำให้ตนเองแท้งลูก จำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
การพยายามทำให้หญิงแท้งลูก ผู้กระทำไม่ต้องรับโทษ
การทำให้หญิงแท้งที่ถูกกฎหมาย
จำเป็นต้องกระทำเนื่องจากสุขภาพหญิงตั้งครรภ์
หญิงตั้งครรภ์เนื่องจากถูกข่มขืนกระทำชำเรา
ประมวลกฎหมายอาญาที่เกี่ยวข้อง
มาตรา ๒ บุคคลต้องรับโทษในทางอาญาต่อเมื่อได้กระทำความผิดและกำหนดโทษไว้ต้องเป็นโทษที่บัญญัติไว้ในกฎหมาย
มาตรา ๑๘ โทษสาหรับลงแก่ผู้กระทาความผิด
มาตรา ๑๙ ๑๖ ผู้ใดต้องโทษประหารชีวิต ให้ดาเนินการด้วยวิธีฉีดยาหรือสารพิษให้ตาย
มาตรา ๒๓ ผู้ใดกระทาความผิดซึ่งมีโทษจาคุก และในคดีนั้นศาลจะลงโทษจาคุกไม่เกินสามเดือน
มาตรา ๒๙ ผู้ใดต้องโทษปรับและไม่ชาระค่าปรับภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ศาลพิพากษา ผู้นั้นจะต้องถูกยึดทรัพย์สิน
มาตรา ๓๐ ในการกักขังแทนค่าปรับ ให้ถืออัตราห้าร้อยบาทต่อหนึ่งวัน
มาตรา ๓๒ ทรัพย์สินใดที่กฎหมายบัญญัติไว้ ให้ริบเสียทั้งสิ้น ไม่ว่าเป็นของผู้กระทาความผิด และมีผู้ถูกลงโทษตามคำพิพากษา
มาตรา ๕๙ บุคคลจะต้องรับผิดในทางอาญาก็ต่อเมื่อได้กระทาโดยเจตนา เว้นแต่จะได้กระทาโดยประมาท
มาตรา ๖๔ บุคคลจะแก้ตัวว่าไม่รู้กฎหมายเพื่อให้พ้นจากความรับผิดในทางอาญาไม่ได้
มาตรา ๖๕ ผู้ใดกระทาความผิด เพราะมีจิตบกพร่อง โรคจิต ผู้นั้นไม่ต้องรับโทษสำหรับความผิดนั้น
มาตรา ๖๘ ผู้ใดจำต้องกระทำการใดเพื่อป้องกันสิทธิของตน ผู้นั้นไม่มีความผิด
มาตรา ๗๓ เด็กอายุยังไม่เกินสิบปี กระทำการอันกฎหมายบัญญัติเป็นความผิดเด็กนั้นไม่ต้องรับโทษ
มาตรา ๒๖๔ ผู้ใดทำเอกสารปลอมขึ้น เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชน ผู้นั้นกระทำความผิดฐานปลอมเอกสาร จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
มาตรา ๒๖๙ ผู้ใดในการประกอบการงานในวิชาแพทย์ กฎหมาย บัญชีหรือวิชาชีพอื่น เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
มาตรา ๒๗๖ ผู้ใดข่มขืนกระทำชำเราผู้อื่นโดยขู่เข็ญด้วยประการใด ๆ โดยใช้กาลังประทุษร้าย จำคุกตั้งแต่สี่ปีถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่แปดหมื่นบาทถึงสี่แสนบาท
มาตรา ๒๘๓ ผู้ใดสนองความใคร่ของผู้อื่น จำคุกตั้งแต่ห้าปีถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่แสนบาท
มาตรา ๒๘๘ ผู้ใดะ่าผู้อื่น ต้องระวางโทษประหารชีวิต จำคุกตลอดชีวิต หรือจาคุกตั้งแต่สิบห้าปีถึงยี่สิบปี
มาตรา ๒๘๔ ผู้ใดพาผู้อื่นไปเพื่อการอนาจาร จำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี และปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงสองแสนบาท
มาตรา ๒๗๗ ผู้ใดกระทำชำเราเด็กอายุยังไม่เกินสิบห้าปี จำคุกตั้งแต่สี่ปีถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่แปดหมื่นบาทถึงสี่แสนบาท
มาตรา ๒๙๑ ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสิบปี และปรับไม่เกินสองแสนบาท
มาตรา ๒๙๗ ผู้ใดกระทำความผิดฐานทำร้ายร่างกาย จำคุกตั้งแต่หกเดือนถึงสิบปี และปรับตั้งแต่หนึ่งหมื่นบาทถึงสองแสนบาท
มาตรา ๓๐๐ ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท
มาตรา ๓๐๑ หญิงใดทำให้ตนเองแท้งลูก จำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๓๐๒ ผู้ใดทำให้หญิงแท้งลูกโดยหญิงนั้นยินยอม จำคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
มาตรา ๓๐๓ ผู้ใดทำให้หญิงแท้งลูกโดยหญิงนั้นไม่ยินยอม จำคุกไม่เกินเจ็ดปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนสี่หมื่นบาท
มาตรา ๓๗๓ ผู้ใดควบคุมดูแลบุคคลวิกลจริต ปล่อยปละละเลยให้บุคคลวิกลจริตนั้นออกเที่ยวไปโดยลำพัง ต้องระวางโทษปรับไม่เกินห้าพันบาท
มาตรา ๓๒๓ ผู้ใดล่วงรู้ความลับของผู้อื่นโดยเหตุที่เป็นเจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่ นั้นแล้วเปิดเผยความลับนั้น จำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
มาตรา ๓๗๔ ผู้ใดเห็นผู้อื่นตกอยู่ในภยันตรายแห่งชีวิตแต่ไม่ช่วยตามความจำเป็น จำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
มาตรา ๓๙๐ ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ จำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท