Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประชุมแบบมีส่วนร่วมอย่างสร้างสรรค์ (Appreciation Influence Control…
การประชุมแบบมีส่วนร่วมอย่างสร้างสรรค์ (Appreciation Influence Control : AIC)
:lock:
แนวคิดหลักของ AIC
:lock:
:pencil2:เชื่อว่าทุกคนมีความคิดสร้างสรรค์ และคิดในสิ่งที่จะทำให้เกิดประโยชน์
:pencil2:เปิดโอกาสให้ทุกคนมีความเสมอภาคในการใช้เหตุผลตัดสินใจ
:pencil2:เชื่อว่าทุกคนมีศักยภาพมีพลัง มีความดี และสามารถสร้างโอกาสให้ชุมชนได้อย่างเหมาะสม
:pencil2:เป็นกระบวนการที่สร้างความมีส่วนร่วมตั้งแต่วิเคราะห์สภาพปัญหา กำหนดทิศทางในการแก้ปัญหาดำเนินการและประเมินผลปรับปรุงและแก้ไข
:pencil2:มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทุกคนมีส่วนร่วมในการชี้ชัดปัญหา และศักยภาพของตนเอง ตลอดจนคิดวิเคราะห์ วางแผนเพื่อแก้ไขปัญหาของกลุ่มได้ด้วยตนเอง
:pen:
ข้อดีของกระบวนการ AIC
:pen:
:pencil2:ข้อมูลที่ได้เป็นข้อมูลจริง
เพราะเป็นมุมมองของกลุ่มเป้าหมายโดยตรง
:pencil2:ได้ข้อมูลรอบด้าน ครอบคลุมเกือบทุกปัญหา
:pencil2:การทำกระบวนการใช้ระยะเวลาสั้น
ได้ข้อมูลเร็ว สามารถวางแผนงานได้ทันที
:pencil2:เป็นกระบวนการที่ครบวงจร ตั้งแต่ศึกษาปัญหาไปจนถึงกำหนดโครงการแก้ไขปรับปรุง
:pencil2:สร้างการยอมรับและความรู้สึกเป็นเจ้าของต่องานที่ทำร่วมกัน
:pencil2:เป็นกระบวนการที่สร้างพลังให้กลุ่มเป้าหมายเพราะผลลัพธ์ที่ได้เกิดจากความร่วมมือ ร่วมใจ ร่วมคิด ร่วมทำของกลุ่มเป้าหมายโดยตรง
:pencil2:เปิดโอกาสให้ทุกคนที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการคิด ตัดสินใจ และลงมือกระทำอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จ
ของการบวนการ AIC
:star:เน้นการสร้างความมีส่วนร่วม ความเสมอภาค ให้อิสระทางความคิดในการและเปลี่ยน การเรียนรู้กันอย่างต่อเนื่อง
:star:ทีมวิทยากรต้องเคารพความคิดเห็นของผู้เข้าร่วม ไม่ชี้นำ ไม่ครอบงำหรือตัดสินความถูกผิด พร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือ
:star:ทีมวิทยากรต้องมีความเข้าใจกระบวนการ AIC เป็นอย่างดี และสามารถดำเนินการตามกระบวนการ AIC ได้ในทุกขั้นตอน
:star:สร้างบรรยากาศที่เป็นมิตร ทำความตกลงกับผู้เข้าร่วมกระบวนการทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน
:star:การคัดเลือกชุมชน/องค์กรที่มีความพร้อม แกนนำที่มีความตั้งใจในการทำงานและเห็นความสำคัญของการทำงานเพื่อชุมชน/องค์กร
:star:เน้นการใช้เหตุผลของกันและกัน
:star:ต้องทำกระบวนการ AIC ให้ครบทั้ง 3 ขั้นตอน ไม่สามารถตัดขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งออกได้
:pen:ตัวอย่างงานAIC :pen:
:black_flag:
ขั้น A
ให้ทราบถึงสถานการณ์ที่เป็นจริงของกลุ่มตัวอย่างในปัจจุบัน มีเนื้อหาว่าอันตรายจากสารเคมี อาการ ระดับความรุนแรงของสารเคมี ความผิดปกติ อาการของร่างกายที่สัมผัสสารพิษ ผลกระทบจาก สารเคมีในด้านต่างๆ
:black_flag:
ขั้น I
คิดค้นกิจกรรมเพื่อพัฒนาพฤติกรรม การดูแลสุขภาพ โดยการแปลวิสัยทัศน์มาเป็นกิจกรรม จัดลำดับความสำคัญของกิจกรรม คัดเลือกกิจกรรมที่ต้องการทำมากที่สุดโดยคำนึกถึงทรัพยากรที่จำกัด
:check:
เรื่อง กระบวนการมีส่วนร่วมด้านการดูแลสุขภาพของเกษตรกรผู้ใช้สารเคมีในชุมชนบ้านห้วยบง
ตำบลแม่ปืม อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา
:black_flag:
ขั้น C
แสวงหารับผิดชอบและวิธีการเขียนโครงการ จัดทำแผน ปฏิบัติการเพื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเพื่อการดูแลสุขภาพให้ดีขึ้นนำเสนอแผนโครงการแก่หน่วยงานที่ให้การสนับสนุน
:fire:
ผลการดำเนินงาน
เกษตรกร มีความเข้าใจถึงปัญหา สามารถกำหนดเป้าหมายร่วมกัน นำเป้าหมายมาคิด หาแนวทางในการแก้ไขปัญหา ค้นหาแผนงานกิจกรรมที่เป็นความคิดเห็นของเกษตรกรโดยคำนึงถึงความสำเร็จ ทำให้เกิดการรับรู้ความตระหนักถึงความรุนแรงและพิษภัยของสารเคมี เกิดความเข้าใจถึงความสำคัญของสุขภาพ การดูแลสุขภาพ การใช้สารทดแทนสารเคมี การปลูกผักริมรั้ว ได้เรียนรู้ถึง รูปแบบในการทำการเกษตรที่ไม่ต้องพึ่งพาสารเคมี เกิดการปรับเปลี่ยนวิธีคิด วิธีการทำการงาน เข้าใจถึงผลกระทบ ที่ไม่ใช่เพียงแต่เกิดกับบุคคลใดบุคคลหนึ่ง แต่ส่งผลเป็นเครือข่ายเชื่อมโยงต่อสิ่งต่าง ๆ รอบตัว
:lock:
ขั้นตอนกระบวนการ AIC
:lock:
:red_flag:ขั้นตอนการสร้างแนวทาง
การพัฒนา (Influence หรือ I)
การคิดโครงการที่จะให้บรรลุวัตถุประสงค์
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการ
:red_flag:ขั้นตอนการสร้างแนวปฏิบัติ
(Control หรือ C)
การแบ่งกลุ่มรับผิดชอบ
การตกลงในรายละเอียดในการดำเนินงาน
:red_flag:ขั้นตอนการสร้างความรู้
(Appreciation หรือ A)
การกำหนดอนาคตของหมู่บ้านว่าต้องการให้
เกิดการพัฒนาในทิศทางใด
การวิเคราะห์สถานการณ์ของหมู่บ้านในปัจจุบัน
:green_cross:ผลที่เกิด
จากการร่วมทำกระบวนการ
AIC :green_cross:
มีส่วนได้ส่วนเสียสามารถตัดสินใจและรับผิดชอบที่จะเลือกแนวทางในการปฏิบัติอย่างอิสระบนพื้นฐานของข้อมูลที่ได้จากการร่วมประชุม การประชุมเชิงปฏิบัติการหรือการทำกิจกรรมร่วมกัน
ผู้เข้าร่วมประชุมเข้าใจสภาพความเป็นจริงและความเป็นไปได้ในสถานการณ์ต่าง ๆ โดยมองภาพความเป็นจริงของสถานการณ์
เกิดการยอมรับและเข้าใจอย่างลึกซึ้ง
โดยผ่านกระบวนการฟังอย่างตั้งใจ
นางสาววิไลวรรณ ดวงน้อย เลขที่ 53 รุ่นที่ 25 ห้อง A