Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลสุขภาพข้ามวัฒนธรรม - Coggle Diagram
การดูแลสุขภาพข้ามวัฒนธรรม
ความหมายความของวัฒนธรรม
องค์ประกอบของวัฒนธรรม
องค์การหรือสมาคม
มีโครงสร้างซึ่งสามารถมองเห็นได้
มีระเบียบแบบแผนหรือกฎเกณฑ์ข้อบังคับ
วัฒนธรรมในส่วนของการจัดระเบียบเป็นองค์การหรือสมาคม
มีระเบียบวิธีประพฤติปฏิบัติขององค์การหรือสมาคมนั้นๆ
องค์พิธีหรือพิธีการ
วัฒนธรรมในส่วนของที่หรือพิธีการต่างๆที่มนุษย์สร้างขึ้นนับตั้งแต่การเริ่มต้นของชีวิต
องค์วัตถุ
การสร้างสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายต่างๆ
วัฒนธรรมในด้านวัตถุที่มีรูปร่างสามารถจับต้องได้
เป็นเครื่องมือแล้วสัญญาณ
องค์มติหรือมโนทัศน์
วัฒนธรรมในด้านความคิด ความเชื่อและอุดมการต่างๆ
ได้รับมาจากคำสอนของทางศาสนา
ความสำคัญของวัฒนธรรม
ทำให้เกิดความสงบเรียบร้อยในสังคม เพราะวัฒนธรรมคือกรอบหรือแบบแผนของการดำรงค์ชีวิต
ทำให้มีพฤติกรรมเป็นแบบเดียวกัน
ทำให้มีความรู้สึกเป็นพวกเดียวกันและให้ความร่วมมือกันได้
ทำให้เข้ากับคนพวกอื่นในสังคมเดียวกันได้
การศึกษาวัฒนธรรมจะทำให้เข้าใจชีวิตความเป็นอยู่ ค่านิยมของสังคมเจตคติความคิดเห็น และความเชื่อถือของบุคคลได้อย่างถูกต้อง
ทำให้มนุษย์มีสภาวะที่แตกต่างจากสัตว์
วัฒนธรรมเป็นเครื่องกำหนดความเจริญ หรือความเสื่อมของสังคม
และเป็นเครื่องกำหนดชีวิตความเป็นอยู่ของคนใน
สังคมวิทยาจำแนกวัฒนธรรมออกเป็น 2 ประเภท
วัฒนธรรมทางวัตถุ
สิ่งของหรือวัตถุอันเกิดจากความคิดและการประดิษฐ์ขึ้นมาของมนุษย์
วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ
วัฒนธรรมที่แสดงออกได้โดยทัศนะ ประเพณี ขนบธรรมเนียม
การปฏิบัติสืบต่อกันมาและเป็นที่ยอมรับในกลุ่มของตนว่าดีงามเหมาะสม
ลักษณะพื้นฐานที่สำคัญของวัฒนธรรม 6 ประการ
วัฒนธรรมมีพื้นฐานมาจากการใช้สัญลักษณ์ของมนุษย์มีต้นกำเนิดมาจากการใช้สัญลักษณ์ ซึ่งมนุษย์สามารถเรียนรู้และถ่ายทอดไปยังรุ่นต่อไปได้
วัฒนธรรมเป็นองรวมของความรู้และภูมิปัญญา มีการวางกฎเกณฑแบบแผนในการดำเนินชีวิตมีการปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อม
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่มนุษย์เรียนรู้มนุษย์จะเรียนรู้ทีละเล็กน้อย
ในสังคมจนกลายเป็นมรดกสังคม
วัฒนธรรมคือกระบวนการที่มนุษย์ความหมายให้กับชีวิตและสิ่งต่างๆ
วัฒนธรรมเป็นความคิดร่วมและค่านิยมทางสังคม
เป็นตัวกำหนดมาตรฐานกรรม
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ไม่หยุดนิ่งมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
วัฒนธรรม
cultura animi ใช้ใช้ครั้งแรกโดย Marcus Tullius Cicero2
ในศตวรรษที่ 17 Culture ถูกนำมาใช้เพื่ออธิบายความเจริญงอกงามของปัจเจก โดยเฉพาะในประเด็นการศึกษา
Culture มีรากศัพท์มาจากภาษาละติน
เมื่อย่างเข้าสู่ตวรรษที่ 18และ 19 Culture ถูกนำไปใช้เพื่อสื่อความหมายถึงผู้คนในลักษณะเป็นกลุ่ม สังคม หรือ เป็นชาติมากขึ้น
เป็นเครื่องมือที่มนุษย์คิดจะช่วยให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ต่อไปได้ในสังคม
วัฒนธรรมใช้อย่างเป็นทางการครั้งแรก
ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม 5
ดร.สาโรจ บัวศรี
วัฒนธรรมคือ ความดีความงาม
และความเจริญในชีวิตปรากฏในรูปประธรรมต่าง
ตกทอดมาถึงรุ่นหลังในปัจจุบันหรือที่มนุษย์เราได้สร้างสัน
ขึ้นในสมัยของเราเอง
ดร.โกวิท ประวาลพฤกษ์
วัฒนธรรมหมายถึง วิถีชีวิตการปฎิบัติและสิ่งของที่เป็นผลมาจากการสะสมถ่ายทอดจากกลุ่มบุคคลถ่ายไปถ่ายทอดสู่รุ่นถัดไป
เพื่อแสดงความเป็นเอกลักษณ์หรือเครื่องบ่งชี้
ความเป็นคนของบุคคลนั้นๆ
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพและการรักษาประชาชนในภูมิภาคต่างๆของโลก
ประเภทของวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพแบ่งเป็น 2 ลักษณะ
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพในสภาวะปกติ
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ
การรออกกำลังกาย การเข้าวัด ถือศีล นั่งสมาธิ ทำบุญตักบาตร
งดบริโภคสุราและสิ่งเสพติด
การกินอาหารประเภทน้ำพริกผักจิ้มและอาหารธรรมชาติ
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการป้องกันโรค
การบริโภคอาหารปรุงสุก
การคว่ำกลาหรือใส่ทรายอะเบทเพื่อป้องกัน
การแพร่เชื้อระบาดของยุงลาย
การรับวัคซีนภูมิคุ้มกันโรค
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพในสภาวะเจ็บป่วย
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการรักษาโรค
สังคมมีระบบการดูแลสุขภาพที่มีความเชื่อมโยงกัน
ระบบการดูแลสุขภาพภาคประชาชน แบบพื้นบ้าน แบบวิชาชีพ
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการฟื้นฟูสมรรถภาพ
การดูแลการพักฟื้นของผู้ป่วยจากคนในครอบครัว
การออกกำลังกายเพื่อเสริมสร้างความแข็งแรง
การงดบริโภคอาหารแสลง
ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
Knowledge
องค์ความรู้เหล่านี้สามารถศึกษาได้จากศาสตร์ต่างๆ
การมีองค์ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม
การแสวงหาความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับโลกทัศน์
เพื่อให้สามารถเข้าใจโลกทัศน์ของผู้รับบริการผ่านมุมมองของ
ผู้รับบริการเอง
รวมไปถึงลักษณะเฉพาะทางด้านร่างกาย ชีววิทยา และสรีระวิทยา
ที่มีความต่างกันในแต่ละกลุ่มชาติพันธ์
Encounter
ความสามารถในการเผชิญและจัดการกับวัฒนธรรม
บุคลากรสุขภาพที่มีความสามารถในการจัดบริการที่เหมาะสม
สำหรับผู้รับบริการที่มีภูมิหลังทางวัฒนธรรมที่ต่างกัน
มีการสื่อสารทั้งทางวัจนะภาษา และอวัจนะภาษาอย่างถูกต้องเหมาะสมตามกาลเทศะของแต่ละวัฒนธรรม
หาประสบการณ์โดยการเข้าไปอยู่ร่วมในสังคมต่างวัฒนธรรมจะช่วยให้เกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์โดยตรง
Skill
การมีทักษะเกี่ยวกับวัฒนธรรม
การมีความไวทางวัฒนธรรมรวมถึง การเรียนรู้วิธีประเมินความต่างทางวัฒนธรรมและการประเมินสุขภาพ
ความสามารถของบุคลากรในสุขภาพในการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับประวัติ
และปัญหาของผู้รับบริการ
Desire
ความปรารถนาที่มีสมรรถนะทางวัฒนธรรมของบุคลากรทางสุขภาพ
ทำให้ต้องการเข้าไปสู่กระบวนการพัฒนาสมรรถนะทางวัฒนธรรม
เป็นขั้นที่สูงที่สุดของสมรรถนะทางวัฒนธรรม
Awareness
การตระหนักรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม
กระบวนการความรู้คิดของบุคลากรสุขภาพที่เล็งเห็นถึงความสำคัญของการให้คุณค่าความเชื่อวิถีชีวิต พฤติกรรม
และวิธีการแก้ปัญหาสุขภาพของผู้ใช้บริการต่างวัฒนธรรม
หากบุคลากรสุขภาพยังไม่เข้าใจลึกซึ้งในวัฒนธรรม ก็จะมีโอกาสเกิดพฤติกรรมการบริการไม่เหมาะสมต่อผู้ใช้บริการ
แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
ดูแลรักษาสุขภาพเมื่ออยู่ในภาวะเสี่ยงป่วยเป็นโรค
ฟื้นฟูสุขภาพให้เข้าสู่ภาวะปกติ
ป้องกันไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยหรือพิการ
ส่งเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรงปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
คุณค่า ความเชื่อ ค่านิยมทางสังคมที่มีผลต่อ
หลักการในการดำเนินชีวิต
ประเภทของความเชื่อ
ความเชื่อแบบประเพณี
ความเชื่อแบบเป็นทางการ
ความเชื่อขั้นพื้นฐานของบุคคลมี 2 ลักษณะ
เกิดจากประสบการณ์ตรง
เกิดจากการแลกเปลี่ยนพบปะสังสรรค์
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเชื่อ
ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม
การปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
การควบคุมทางสังคม
การขัดเกลาทางสังคม
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
ปัจจัยทางด้านบุคคล
อายุ
การศึกษ
เพศ
อาชีพ
ศาสนา
ปัจจัยทางด้านจิตวิทยา
การรับรู้การเรียนรู้
ความเชื่ความเชื่อในสิ่งปรากฏอยู่จริง
ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรคและวิธีการดูแลสุขภาพ
ความเชื่อแบบการแพทย์แผนตะวันตกและวิธีการดูแลสุขภาพ
ความเจ็บป่วยเกิดจากพฤติกรรม
ความเจ็บป่วยเกิดจากสิ่งแวดล้อมหรืออุบัติเหตุ
กการเจ็บป่วยเกิดจากเชื้อโรค ความเจ็บป่วยเกิดจากพันธุกรรม
ความเจ็บป่วยเกิดจากจิตใจและความเจ็บป่วยที่เกิดจากสาเหตุอื่นๆ
ความเชื่อและการดูแลในช่วงเปลี่ยนผ่านสถานนะการณ์ชีวิต
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการเกิดแบบพื้นบ้าน
ระยะการคอดบุตร
ความเชื่อเกี่ยวกับการคลอดบุตร
เรื่องความเป็นสิริมงคล ท่าทางในการคลอด
การดูแลสุขภาพในระยะคลอดบุตร
การจัดสถานที่และท่าทางในการคลอด การตรวจครรภ์ก่อนคลอด
การคลอด การจัดการเกี่ยวกับรก การร่อนกระดัง
ระยะหลังคลอด
ความเชื่อเกี่ยวกับภาวะหลังคลอด
ความเชื่อในเรื่องผี ความเชื่อในเรื่องกรรม ความเชื่อในเรื่องสมดุลธาตุ 4 ความเชื่อสมดุลย์มลทินของร่างกาย ความเชื่อเรื่องการบำรุงร่างกาย
การดูการดูแลสุขภาพในระยะหลังคลอด
การอยู่หน้าไฟ การนาบหม้อเกลือ การประทับหม้อเกลือ
การะประคบสมุนไพร การนวดหลังคลอด
ระยะการตั้งครรภ์
คนโบราณเชื่อว่าการตั้งครรภ์เป็นผลจากความสัมพันธ์ของมนุษย์กับดวงดาวในระบบจักรวาล
การดูแลสุขภาพในระยะตั้งครรภ์ จะเกี่ยวกับสุขภาพจิต
สุขภาพกาย การดูแลทารกในครรภ์ การฝากครรภ์
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการเกิดแบบแพทย์ตะวันตก
ความเชื่อเรื่องเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ เป็นภาวะที่ตัวอ่อนหรือพาลูกได้ก่อกำเนิดขึ้นภายในมดลูก
การดูแลสุขภาพแบบแพทย์ตะวันตกมีหลักฐานการดูแลใคร
คือการแบบพื้นบ้าน
ความเชื่อแบบพื้นบ้านและวิธีการดูแลสุขภาพ
ทำพิธียอครูหรือบนครูแล้วถึงทำการวินิจฉัยโรค รักษาโรค
ทำการปรงขันซึ่งเป็นเป็นขั้นตอนสุดท้ายของการสวมบทบาทของผู้ป่วยเพื่อก้าวข้ามผ่านไปสู่ภาวะปกติ
จะมีการทำพิธีตั้งขันข้าวหรือการตั้งคาย
ซึ่งเป็นการไหว้ครูเพื่อให้เกิดสัมฤทธิ์ทางการรักษา
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความชรา
ความเชื่อเกี่ยวกับความชราและการดูแลสุขภาพแบบพื้นบ้าน
ปัจจัยชี้บ่งบอกความชรา ภาวะหมดประจำเดือนในเพศหญิงการเสื่อมสมรรถภาพทางเพศชายและความแปรปรวนของธาตุลม
การใช้สมุนไพรการดูแลอาหารการดูแลด้านสุขภาพทางเพศ การดูแลสุขภาพโดยพึ่งพิงศาสนา
ความเชื่อเกี่ยวกับความฉลาเลขการดูแลสุขภาพแบบการแพทย์ตะวันตก
กำหนดอายุตั้งแต่ 60 หรือ 65 ปีขึ้นไปเป็นเกณฑ์เข้าสู่วัยชรา
การดูแลตามฮอร์โมนการดูแล ด้านการออกกำลังกายการดูแล
ด้านการพักผ่อนนอนหลับ การดูแลด้านอุบัติเหตุ การดูแลด้านจิตใจ
ความเชื่อแบบอำนาจเหนือธรรมชาติและวิธีการดูแลสุขภาพ
ความเจ็บป่วยเกิดจากการกระทำของผี
ความเจ็บป่วยเกิดจากเวทมนตร์และคุณไส
ความเจ็บป่วยที่เกิดจากเคราะห์หรือโชคชะตา
ความเจ็บป่วยที่เกิดจากการละเมิดขนบธรรมเนียมประเพณีของสังคม
ความเจ็บป่วยที่เกิดจากที่ตั้งของภูมิศาสตร์
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตาย
ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับตายแบบพื้นฐาน
เชื่อในเรื่องวิญญาณกฎแห่งกรรมการเวียนว่ายตายเกิดในชาติภพ
มุ่งเน้นการตอบสนองด้านจิตใจวิญญาณของผู้ตายหรือเครือญาต
ให้สร้างความดีและผลบุญเพื่อการตายอย่างสงบ
เกิดความสุขเจริญในภพหน้า
ความเชื่อการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตายแบบแพทย์แผนตะวันตก
พิจารณาจากการหยุดทำงานของหัวใจด้วยการทำงานของแกนสมอง
มุ่งเน้นให้ระบบและอวัยวะต่างๆสามารถทำงานต่อไปได้อยู่ชีวิตผู้ป่วย
ให้ได้ยาวนานที่สุดภายใต้เครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ทันสมัย
ค่านิยมทางสังคม
ปัจจัยทางสังคมมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้
สถาบันศาสนา
ช่วยในการปลูกฝังค่านิยมและสินะธรรมอันถูกต้องได้เป็นอย่างดี
สังคมวัยรุ่นและกลุ่มเพื่อน
การเรียนรู้และการยอมรับค่านิยมจากกิจกรรมเหล่านั้น
โรงเรียน
สอนให้เด็กเกิดความคิด ความเชื่ออันนำไปสู่แบบแผนการมีพฤติกรรมที่ดี
การอบรมปลูกฝังค่านิยมของครูจะต้องมีการติดตามทุกระยะ
สถาบันทางสังคมที่มีส่วนในการสร้างค่านิยมอันถูกต้องให้แก่เด็ก
สื่อมวลชน
ได้รับความรู้และความคิดจากสื่อมวลชนเป็นอันมากในบางกรณี
ยอมรับความรู้และความคิดเหล่านั้นไปยึดถือเป็นหลักค่านิยม
บางประการของตน
ครอบครัว
เป็นหน่วยแรกที่อบรมสั่งสอนพฤติกรรมสังคมให้แก่คุณตั้งแต่เกิดจนโต
เป็นสถาบันสังคมอันดับแรกที่มีอิทธิพลต่อการสร้างค่านิยมให้แก่บุคคล
องค์การของรัฐบาล
ปลูกฝั่งค่านิยมและสินะธรรมให้แก่สังคมตามปกติ
รัฐจากควบคุมโรงเรียนได้สนับสนุนสถาบันศาสนาให้ทำหน้าที่ด้านนี้
รัฐยังตรากฎหมายให้สิทธิและอำนาจแก่ครอบครัวในการเลี้ยงดูและอบรม
การเผยแพร่ข่าวและความคิดของสื่อมวลชนยังอยู่ภายใต้ควบคุมหรือสนับสนุนของรัฐ