Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารยากินและยาเฉพาะที่💊 - Coggle Diagram
การบริหารยากินและยาเฉพาะที่💊
วัตถุประสงค์ของการให้ยา✔
2.เพื่อการป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ
1.เพื่อรักษาตามสาเหตุของโรค
3.เพื่อการตรวจวิเคราะห์โรค
ปัจจัยที่มีผลต่อการออกฤทธิ์ของยา✅
ภาวะสุขภาพ
ภาวะจิตใจ
เวลาที่ให้ยา
ทางที่ให้ยา
เพศ
อายุและน้ำหนักตัว
กรรมพันธุ์
สิ่งแวดล้อม
ระบบการตวงวัดยา⚖
ระบบเมตริก ถ้าเป็นน้ำหนักส่วนใหญ่ใช้หน่วยเป็น กรัม มิลลิกรัม ลิตร มิลลิลิตร
3.ระบบมาตราตวงวัดประจำบ้าน มีหน่วยที่ใช้เป็น หยด ช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยชา และถ้วยแก้ว สามารถเทียบได้กับระบบเมตริก
1.ระบบอโพทีคารี ถ้าเป็นน้ำหนักส่วนใหญ่ใช้หน่วยเป็นปอนด์
ออนซ์ เกรน
คำย่อและสัญลักษณ์เกี่ยวกับคำสั่งการให้ยา❕
1) ความถี่การให้ยา
tid วันละ 3ครั้ง
qid วันละ 4ครั้ง
bid วันละ 2ครั้ง
q ทุก 6ชั่วโมง
OD วันละ 1ครั้ง
2) วิถีทางการให้ยา
SC เข้าใต้ผิวหนัง
IV เข้าหลอดเลือดดำ
IM เข้ากล้ามเนื้อ
ID เข้าชั้นระหว่างผิวหนัง
o รับประทานทางปาก
subling/ SL อมใต้ลิ้น
inhal ทางสูดดม
supp เหน็บ/สอด
instill หยอด
3) เวลาการให้ยา
ac ก่อนอาหาร
pc หลังอาหาร
hs ก่อนนอน
PRN เมื่อจำเป็น
stat ทันทีทันใด
คำสั่งแพทย์👩🏻⚕️
2.Single order order/ order for one day คำสั่งที่ใช้ได้ใน 1 วัน เมื่อได้ให้ยาไปแล้วเมื่อครบก็ระงับไปได้เลย
3.Stat order คำสั่งกำรให้ยาครั้งเดียวและต้องให้ทันที
1.Standing orderorder/ Order for continous คำสั่งที่สั่งครั้งเดียวและใช้ได้ตลอดไปจนกว่าจะมีคำสั่งระงับ
PRN order คำสั่งที่กำหนดไว้ให้ปฏิบัติเมื่อผู้ป่วยมีอาการบางอย่างเกิดขึ้น
แพทย์จะต้องรับผิดชอบในการเขียนคำสั่งการให้ยาเป็นลายลักษณ์อักษร พยาบาล เป็นผู้รับผิดชอบในการจัดยาเตรียมยาและนำไปให้ผู้ป่วยโดยตรง
ส่วนประกอบของคาสั่งแพทย์ (orderorder)
ชื่อผู้ป่วย
วัน เวลา ที่สั่งยา
เวลา ความถี่ในการให้ยา
ชื่อยา
ขนาด/ความเข้มข้นของยา
ทางที่ให้ยา
ลายมือชื่อของแพทย์ที่สั่งยา
ลักษณะคาสั่งแพทย์ตามทางวิถีทางการให้ยา
ทางปาก (oral)
ได้แก่ tablet, capsule, syrup, elixir, emulsion, powder, mixture, lozenge
ทางสูดดม (inhalation)
spray พ่นทำงสำยให้ออกซิเจน (nebulae)
ทางเยื่อบุ (mucous)
tablet, suppository, sublingual, aqueous solution, instillate, irrigate
ทางผิวหนัง (skin)
lotion, cream, ointment, paste, inunction,powder
ทางกล้ามเนื้อ (intramuscular)
ฉีดเข้าทางกล้ามเนื้อของผู้ป่วย aqueous solution เท่านั้น
ทางชั้นผิวหนัง (intradermal)
ฉีดเข้าทางชั้นผิวหนังของผู้ป่วย Aqueous solution) เท่านั้น
ทางหลอดเลือดดา (intravenous)
ฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำของผู้ป่วย aqueous solution เท่านั้น
ทางใต้ผิวหนัง (subcutaneous / hypodermal)
ฉีดเข้าที่ใต้ผิวหนังของผู้ป่วยทAqueous solution เท่านั้น
คำนวณขนาดยา📝
ความเข้มข้นของยา (ในแต่ละส่วน) = ขนาดความเข้มข้นของยาที่มี /
ปริมาณยาที่มี
การบริหารยา (Medication administration administration)💊
หลักประกันความถูกต้อง เพื่อสร้างความมั่นใจว่ากระบวนการให้ยาความปลอดภัย
• หลัก 6 ประการ หรือกฎ Six Rights ต่อมาเพิ่มเป็น Seven Rights -Ten Rights
หลักสำคัญในการให้ยา💥
1 ยาทางปากใช้หลักสะอาดฉีดยาใช้หลักAseptic technique
2 ตรวจสอบOder ก่อนให้ยาทุกครั้ง
3 ทราบวัตถุประสงค์การวินิจฉัยโรคผลของยาฤทธิ์ข้างเคียงของยา
4 ตรวจสอบประวัติการแพ้ยาเขียนป้ายติดที่แผ่นรายงานการรักษาอย่างชัดเจน
5 ตรวจสอบวันหมดอายุของยา
6 ไม่ควรเตรียมยาค้างไว้ผู้เตรียมยาและผู้ให้ยาควรเป็นคนเดียวกัน double check
7 ไม่ให้ยาที่ฉลากลบเลือนไม่ชัดเจน ไม่ควรเทยากลับไปในขวดเดิมอีก
8 ตรวจสอบผู้ป่วยก่อนให้ยาโดยการถามชื่อและนามสกุลก่อนทุกครั้ง
9 บอกให้ผู้ป่วยทราบถึงวัตถุประสงค์ของการให้ยาและผลข้างเคียง
10 ให้ผู้ป่วยรับประทานยาต่อหน้าพยาบาล
11 ลงบันทึกการให้ยาหลังจากให้ยาทันที
12 มีการประเมินประสิทธิภาพของยาที่ให้
13 สังเกตอาการก่อนและหลังการให้ยา
14 กรณีที่ให้ยาผิดต้องรีบรายงานให้พยาบาล หัวหน้าเวรรับทราบเพื่อหาทางแก้ไข
การให้ยาทางปากและยาเฉพาะที่
การให้ยาเฉพาะที่👁👂🏻
5) การเหน็บยา เป็นการให้ยาที่มีลักษณะเป็นเม็ด เข้าทางเยื่อบุตามอวัยวะต่าง ๆเพื่อให้ยาออกฤทธิ์เฉพาะที่
3) การให้ยาทางหู (Ear instillation) เป็นการหยอดยาเข้าไปในช่องหูชั้นนอก ยาที่ใช้เป็นยาน้ำ ออกฤทธิ์เฉพาะเยื่อบุในช่องหู
1) การสูดดม (Inhalation) เป็นการให้ยาในรูปของ Gas, Vapor, Aerosol สามารถให้โดยการพ่นยาเข้าสู่ทางเดินหายใจ เพื่อให้ยาไปสู่บริเวณที่ต้องการให้ยาออกฤทธิ์
4) การหยอดยาจมูก (Nose instillation)
2) การให้ยาทางตา (Eye instillation) เนื่องจากดวงตาเป็นเนื้อเยื่อที่บอบบางมาก ติดเชื้อได้ง่าย การใช้ยาบริเวณตาต้องคำนึงถึงความสะอาดเป็นสำคัญ
การให้ยาทางปาก👄
การให้ยาที่สามารถรับประทานทางปากได้ ซึ่งอาจเป็นชนิดยาเม็ด ยาแคปซูล ยาผง หรือยาน้ำ นับว่าเป็นวิธีที่ง่าย สะดวก และปลอดภัยที่สุด
ยาที่ระคายเคืองทางเดินอาหารให้กินหลังอาหารหรือนม (ยกเว้นยาพวก Tetracycline ไม่ควรให้ผู้ป่วยรับประทานพร้อมนม)
การให้ยาเม็ดในเวลาเดียวกัน สามารถรวมกันได้ ส่วนยาน้ำให้แยกใส่แก้วยาต่างหาก
ยาชนิดผงให้ใช้ช้อนตวงปาดแล้วเทใส่แก้วยา
ยาจิบแก้ไอควรให้ภายหลังรับประทานยาเม็ด
ยาลดกรดในกระเพาะอาหารควรให้อันดับสุดท้าย
ยาอมใต้ลิ้นให้หลังจากรับประทานยาทุกชนิดแล้ว และแนะนำให้ห้ามกลืนหรือเคี้ยวยา
บทบาทพยาบาลในการให้ยาผู้ป่วย🏥
กรณีผู้ป่วยที่ NPO ให้มีป้าย NPO และเขียนระบุว่าNPO เพื่อผ่าตัดหรือเจาะเลือดช้ำ ให้อธิบายและแนะนำผู้ป่วยและญาติทุกครั้ง
กรณีคำสั่งสารน้ำ+ยา B co 2 ml ให้เขียน +ยา B co 2 ml ด้วยปากกาเมจิก อักษรตัวใหญ่บนป้ายสติ๊กเกอร์ของสารน้ำให้ชัดเจนเพื่อสังเกตได้ง่าย
เวรบ่าย พยาบาลจะตรวจสอบรายการยากับคำสั่งแพทย์ให้ตรงกัน
การจัดยาจะจัดตามหน้าชองยาหลังจากตรวจสอบความถูกต้องแล้ว ในการจัดยาที่เป็นคำสั่งใหม่
การจัดยาให้ระมัดระวัง
มีผู้จัด-ผู้ตรวจสอบ คนละคนกันตรวจสอบช้ำก่อนให้ยา
เมื่อมีคำสั่งใหม่ หัวหน้าเวร ลงคำสั่งในใบ MAR ทุกครั้ง
การแจกยาไล่แจกยาตามเตียงพร้อมเซ็นชื่อทุกครั้งหลังให้ยา
การซักประวัติ
ให้ยึดหลัก 6R ตามที่กล่าวมาข้างต้น
1.พยาบาลตรวจสอบยาให้ตรงกับคำสั่งแพทย์
กระบวนการพยาบาลในการบริหารยาทางปากและยาเฉพาะที่✅
การประเมินสภาพ
ต้องหาข้อมูลเกี่ยวกับตัวผู้ป่วยและยาที่จะให้ผู้ป่วย ต้องทราบ ข้อมูลเกี่ยวกับการแพ้ยา ภาวะขณะที่จะให้ยา
การวินิจฉัยการพยาบาล
จัดหมวดหมู่ข้อมูลที่เป็นปัญหา ดูว่าผู้ป่วยมีปัญหาหรือไม่มีปัญหาที่จะได้รับยาขึ้นอยู่กับข้อมูลที่ประเมินมาได้ในขั้นตอนแรก แล้วให้การวินิจฉัยพยาบาล
การประเมินผล
หลังจากให้ยาแล้วต้องตามผลทุกครั้ง เพื่อดูผลของยาต่อผู้ป่วยทั้งด้านการรักษา และผลข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ รวมถึงการแพ้ยาด้วย โดยประเมินดูว่าเป็นไปตามเกณฑ์การประเมินที่ตั้งไว้
การวางแผนการพยาบาล
วางแผนหาวิธีการให้ยาอย่างไร ผู้ป่วยจึงจะได้ยาถูกต้อง ครบถ้วน ผู้ป่วยไม่เจ็บปวดหรือได้รับอันตราย โดยการตั้งเกณฑ์การประเมินของแต่ละข้อวินิจฉัยการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
ยึดหลักความถูกต้อง 7 ประการ คำนึงถึงบทบาทพยาบาลในการให้ยาบันทึกหลังการให้ยา ปฏิบัติตามหลักการบริหารยาที่ลงมือปฏิบัติจริง
สมรรถนะของพยาบาลในการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (Competencies of nurses for Rational Drug Use)💊
สามารถพัฒนำความรู้ความสามารถในการใช้ยา ได้อย่างต่อเนื่อง (Improve prescribing practice)
สามารถทำงานร่วมกับบุคลากรอื่นแบบสหวิชาชีพ เพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (Prescribe as part of a team)
สามารถใช้ยาได้อย่างเหมาะสม ตามความรู้ความสามารถทางวิชาชีพ และเป็นไปตามหลักเวชจริยศาสตร์ (Prescribe professionally)
สามารถใช้ยาได้อย่างปลอดภัยทั้งต่อผู้ป่วย และไม่เกิดผลกระทบต่อสังคมโดยรวม (Prescribe safely)
สามารถติดตามผลการรักษา และรายงานผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้ยาได้ (Monitor and review)
สามารถให้ข้อมูลที่จำเป็นต่อการใช้ยาได้อย่างเพียงพอ (Provide information)
บริหารยาตามการสั่งใช้ยาได้อย่างถูกต้อง
สามารถสื่อสารเพื่อให้ผู้ป่วยร่วมตัดสินใจในการใช้ยา พิจารณาจากข้อมูลทางเลือกที่ถูกต้อง เหมาะสมกับและเคารพในมุมมองของผู้ป่วย (Reach a shared decision)
สามารถร่วมพิจารณาการเลือกใช้ยาได้อย่างเหมาะสมตามความจำเป็น (Consider the options)
สามารถประเมินปัญหาผู้ป่วยที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาหรือมีความจำเป็นต้องใช้ยาในการรักษา (Assess the patient)
ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา 💊
ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา (Prescription error)
ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา (Administration error)
ความคลาดเคลื่อนในการคัดลอกคำสั่งใช้ยา (Transcribing error)
ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา (Dispensing Error)