Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ - Coggle Diagram
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ
การส่งเสริมสุขอนามัย
ความสำคัญของการส่งเสริมสุขอนามัย
การดูแลสุขภาพตนเองเป็นสิ่งที่มนุษย์ปฏิบัติกันมาช้านาน การทำความสะอาดร่างกาย ตนเองเป็นพฤติกรรมสุขภาพขั้นพื้นฐานที่ต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่ทุกๆวัน เพื่อสร้างความมั่นใจ ในการอยู่รวมกับสังคมได้อย่างมีความสุข
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขอนามัยส่วนบุคคล
อาชีพ
ถิ่นที่อยู่
เศรษฐกิจ
ภาวะเจ็บป่วย
การศึกษา
สิ่งแวดล้อม
ภาวะสุขภาพ
ขนบธรรมเนียมประเพณีและความเชื่อ
เพศ
ความชอบ
อายุ
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
การพยาบาลตอนบ่ายหรือตอนเย็น (Afternoon care/ P.M. care)
เป็นหน้าที่ของ พยาบาลเวรเช้า หากท ากิจกรรมภายในช่วงก่อนเวลา 16.00 น. หากทำในช่วงเวลาตอนเย็น จะเป็น หน้าที่ของเวรบ่ายในการดูแลทำความสะอาด
การพยาบาลตอนก่อนนอน (Evening care/ Hour of sleep care/ H.S. care)
เป็นหน้าที่ของพยาบาลเวรบ่าย เป็นการพยาบาลที่ให้การดูแลเรื่องการให้หม้อนอนหรือกระบอก ปัสสาวะ การล้างมือ
การพยาบาลตอนเช้า (Morning care/ A.M care)
เป็นหน้าที่ของพยาบาลเวรเช้า ที่จะให้การพยาบาลภายหลังผู้ป่วยรับประทานอาหารเช้าเสร็จเรียบร้อย เป็นการพยาบาลเพื่อดูแล สุขอนามัยส่วนบุคคลประจำวัน
การพยาบาลเมื่อจำเป็นหรือเมื่อผู้ปุวยต้องการ (As needed care/ P.r.N. care)
พยาบาลให้การพยาบาลตามความต้องการของผู้ปุวยตลอด 24 ชั่วโมง เช่น ถ้าผู้ปุวยปัสสาวะรดที่ นอนเปียกทั้งตัว พยาบาลจะช่วยเช็ดตัว
การพยาบาลตอนเช้าตรู่หรือเช้ามืด (Early morning care)
เป็นหน้าที่ความ รับผิดชอบของพยาบาลเวรดึก ที่ให้การพยาบาลตอนเช้าตรู่หรือเช้ามืด เมื่อผู้ปุวยตื่นนอนแล้ว
การดูแลความสะอาดร่างกาย
การดูแลความสะอาดของผิวหนัง/ การอาบน้ำ(Bathing)
การอาบน้ำที่ห้องน้ำ (Bathing in bath room/ Shower)
เป็น การช่วยเหลือพาผู้ปุวยไปทำความสะอาดร่างกายในห้องน้ำ โดยมากเป็นการอาบโดยใช้ฝักบัว หรือตัก น้ำอาบร่างกาย เมื่อผู้ปุวยสามารถลุกจากเตียงได้ พยาบาลช่วยพยุงเดินไปห้องน้ำ ช่วยเตรียมของใช้ ให้พร้อม เปิดก๊อกน้ำให้ปรับอุณหภูมิที่เหมาะสม
การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงเฉพาะบางส่วน (Partial bath)
เป็นการ ทำความสะอาดร่างกายผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตัวเองได้บ้าง ไม่สามารถอาบน้ำเช็ดตัวได้ครบทุกส่วน พยาบาลต้องช่วยเช็ดบางส่วนที่ผู้ป่วยไม่สารถเช็ดเองได้
การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงชนิดสมบูรณ์ (Complete bed bath)
จุดประสงค์
ประเมินการเคลื่อนไหวของร่างกายและส่งเสริมการออกกำลังกายของข้อต่าง
สังเกตความผิดปกติของผิวหนัง
ให้ผู้ป่วยรู้สึกสบาย สดชื่นและผ่อนคลาย
กระตุ้นการไหลเวียนของโลหิตและปูองกันแผลกดทับ
กำจัดสิ่งสกปรก ที่สะสมบนผิวหนังและส่งเสริมความมั่นใจในตนเอง
การนวดหลัง (Back rub or back massage)
หลักการนวดหลัง
จัดท่าให้ผู้ป่วยสุขสบาย
ไม่นวดบริเวณที่มีการอักเสบ มีแผล กระดูกหัก
ไม่นวดแรงเกินไปจนผู้ป่วยเจ็บ
นวดเป็นจังหวะสม่ำเสมอ
เลือกใช้แปูงหรือโลชันหรือครีม เพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง
ใช้เวลานวดประมาณ 5-10 นาที
การดูแลความสะอาดปากและฟัน
หลักการทำความสะอาดปากและฟัน
แปรงฟันทุกซี่ ทุกด้าน นาน 5 นาที เพื่อขจัดคราบหินปูน และเศษอาหารใน เวลาเช้า หลังอาหารทุกมื้อและก่อนนอน
ผู้ปุวยที่ไม่รู้สึกตัว พยาบาลต้องทำความสะอาดปากและฟันให้เป็นพิเศษ สำลี ที่ใช้เช็ดทำความสะอาดต้องเปลี่ยนบ่อย
ผู้ปุวยที่มีปัญหาในช่องปาก มีแผล ปากแห้ง ไม่สามารถรับประทานอาหาร และน้ าทางปากได้ ต้องทำความสะอาดปากและฟันให้ทุก 2 ชั่วโมง
การดูแลความสะอาดของเล็บ
จุดประสงค์
ให้เล็บสะอาด และสุขสบาย
ปูองกันการเกิดเล็บขบ
เครื่องใช้
อ่างใส่น้ำอุ่น
ถุงมือสะอาด และmask
ถาดใส่สบู่ ผ้าถูตัว ผ้าเช็ดตัว กรรไกรตัดเล็บ ตะไบเล็บ กระดาษรอง
การดูแลความสะอาดของตา
จุดประสงค์
ความสุขสบายของผู้ปุวย
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ปุวย
ก าจัดขี้ตา ทำให้ดวงตาสะอาด
การดูแลทำความสะอาดของหู
จุดประสงค์
กำจัดสิ่งสกปรกภายในช่องหู
ทำความสะอาดใบหูและหลังใบหู
เครื่องใช้
สำลีสะอาด หรือไม้พันสำลี 4 อัน
ผ้าสะอาด
ชามลูกไต
กระดาษเช็ดปาก
การดูแลทำความสะอาดของจมูก
จุดประสงค์
ป้องกันสารคัดหลั่งแห้งยึดขนจมูกกับสายที่คาไว้
ป้องกันการเกิดแผลกดทับที่ด้านในรูจมูกจากสายที่คาไว้
กำจัดสิ่งขับถ่ายและสิ่งสกปรกภายในจมูก
การดูแลความสะอาดของเส้นผมและหนังศีรษะ
ความสุขสบายและสดชื่นของผู้ป่วย
ขจัดความสกปรกและสารที่ใส่บนผม และหนังศีรษะเพื่อการตรวจรักษา
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ปุวยและรู้สึกมีความมั่นใจ
การท าความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของชายและหญิง
จุดประสงค์
กำจัดสิ่งขับถ่าย สิ่งสกปรก และกลิ่นไม่พึงประสงค์
ลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ปุวยที่ได้รับ การสวนปัสสาวะคาไว้
เสริมสร้างความสุขบายให้กับผู้ปาวย
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมสุขอนามัยส่วนบุคคลของผู้ป่วย
ประเมินความชอบ ความเชื่อและวัฒนธรรมของผู้ป่วย
ประเมินผิวหนัง ช่องปาก เส้นผมและหนังศรีษะ ตา หู จมูก
ประเมินระดับความสารถในการดูแลตนเอง
ประเมินปัญหาและความเสี่ยงของการรักษาและอาการผิดปกติที่อาจ เกิดขึ้นระหว่างการดูแล
การส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
ความหมายของการพักผ่อนและการนอนหลับ
ผ่อนคลาย และมีความสงบทั้งจิตใจและร่างกาย รวมถึง ความไม่วิตกกังวล สงบหรือผ่อนคลายโดยไม่มีความเครียดทางอารมณ์
Absolute bed rest
เป็นการพักผ่อนโดยให้ผู้ปุวยนอนอยู่บนเตียง ไม่ให้ ร่างกายออกแรงในกิจกรรมใด ที่จะทำให้รู้สึกเหนื่อย
Bed rest
เป็นการพักผ่อนโดยให้ผู้ปุวยนอนอยู่บนเตียง สามารถทำ กิจกรรมประจำวันได้ตามความสามารถของผู้ปุวย
ความสำคัญของการพักผ่อนและการนอนหลับ
ส่งเสริมการเจริญเติบโต ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
ซ่อมแซมและสร้างเนื้อเยื่อขึ้นใหม่ ช่วยส่งเสริมการหายของแผลรวมถึงมีการช่วย สะสมพลังงานไว้ใช้ในวันต่อไป
สงวนพลังงาน พลังงานที่ใช้ของร่างกายและสมองจะลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงตื่น ขณะอยู่เฉย
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และความจำ เนื่องจากการนอนหลับในระยะ (Rapid eye movement sleep: REM)
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย โดยศูนย์ควบคุมอุณหภูมิของร่างกายอยู่ใต้สมองส่วน ไฮโปธาลามัสและต่อมใต้สมองส่วนหน้าทำหน้าที่ในการควบคุมอุณหภูมิ
ผลกระทบจากปัญหาการนอนหลับ
ผลกระทบต่อร่างกาย
ท าให้เกิดอาการเปลี่ยนแปลงต่าง เช่น อาการเมื่อยล้าคลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก ปวดศีรษะ วิงเวียนเหมือนบ้านหมุน
ผลกระทบต่อจิตใจและอารมณ์
ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของ อารมณ์ได้ง่าย อาจมีอาการเซื่องซึมและหงุดหงิด โมโหง่าย เกิดความสับสนและความสามารถในการ ควบคุมตนเองจาก
ผลกระทบต่อสติปัญญาและการรับรู้
เมื่อนอนหลับไม่เพียงพอท า ให้การปฏิบัติกิจกรรมในช่วงกลางวันลดลง สมาธิไม่ดี และแก้ไขปัญหาได้ช้า
ผลกระทบทางสังคม
บุคคลที่นอนหลับไม่เพียงพอ จะส่งผลทาง สังคม ได้แก่ การมีปฏิสัมพันธ์ในครอบครัวและสังคมลดลง ความมั่นใจในการทำงานลดลง
วงจรการนอนหลับ
ช่วงหลับธรรมดา (Non-rapid eye movement sleep: NREM)
ระยะที่ 2 (หลับตื้น)
การหลับในช่วงต้น เป็นสภาพที่ไม่ได้ยินเสียงรบกวน จากภายนอก เป็นระยะแรกที่มีการหลับอย่างแท้จริง แต่ยังไม่มีการฝัน ระยะนี้จะถูกปลุกให้ตื่นได้ โดยง่าย
ระยะที่ 3 (หลับปานกลาง)
ทั้งคลื่นสมองและชีพจรจะเต้นช้าลง ความมีสติ รู้ตัวจะหายไป การเคลื่อนไหวของตาจะหยุดลง แม้ได้รับสิ่งเร้าจากภายนอกก็จะไม่ตื่นโดยง่าย ขั้นนี้จะ ใช้เวลาประมาณ 20 - 30 นาที
ระยะที่ 1 (เริ่มมีความง่วง)
เป็นช่วงเริ่มหลับที่เปลี่ยนจากการตื่นไปสู่ การ นอน ในคนทั่วไปใช้เวลาตั้งแต่ 30 วินาที - 7 นาทีเป็นสภาพที่แม้จะได้รับการกระตุ้นเพียงเล็กน้อยก็ จะตื่น
ระยะที่ 4 (หลับลึก)
เป็นช่วงหลับสนิทของการนอน ใช้เวลา 30 - 50 นาที หากว่าร่างกายนอนหลับโดยปราศจากระยะที่ 4 นี้ อาจมีการนอนละเมอหรือฝันร้ายได้
ช่วงหลับฝัน (Rapid eye movement sleep: REM)
เป็นช่วงที่กล้ามเนื้อ ต่าง ของร่างกายแทบจะหยุดการทำงานกันหมด แต่ระบบการทำงานของหัวใจ กระบังลมเพื่อการ หายใจ กล้ามเนื้อตา และกล้ามเนื้อเรียบ
ความดันเลือดซิสโตลิค (systolic) จะลดลง 20-30 mmHg ขณะหลับสนิท
อัตราการเต้นของชีพจรจะลดลง 10-30 ครั้งต่อนาที
อุณหภูมิของร่างกายลดลง 0.5-1.0 องศาฟาเรนไฮด์
การหายใจจะลดลง หายใจลึกและอัตราไม่สม่ำเสมอ
การผลิตความร้อนลดลง ร้อยละ 10-15
กล้ามเนื้อและเส้นเอ็นต่าง คลายตัว
ความเจ็บปวด การได้ยิน การสัมผัส กลิ่น และการมองเห็นจะลดลง
ปริมาณปัสสาวะลดลง
ปัจจัยที่มีผลต่อการพักผ่อนและการนอนหลับ
ปัจจัยภายใน
ปัจจัยส่วนบุคคล
อายุ
เพศ
ความไม่สุขสบาย
การใส่สายยางและท่อระบายต่าง จากสายยางและท่อ ระบายต่าง
ท่านอนที่ไม่เหมาะสม ท่านอนมีผลต่อคุณภาพการนอนหลับ จากงานวิจัยของคลอส
ความเจ็บปวด
อาการคลื่นไส้ อาเจียน มักพบหลังจากได้รับยาระงับรู้สึกทั่ว ร่างกาย (general anesthesia) หรือการได้รับยาชาเฉพาะที่ (local anesthesia)
ภาวะไข้หลังผ่าตัด การมีอุณหภูมิร่างกายสูงหลังผ่าตัดเป็น ปฏิกิริยา การตอบสนองของร่างกาย จะมีไข้ต่ำๆ
ความวิตกกังวล
ความไม่คุ้นเคยต่อการนอนโรงพยาบาล การสูญเสียบทบาทหน้าที่ทางครอบครัวและ สังคม การไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้เหมือนปกติ
ปัจจัยภายนอก
แสง
ความไม่คุ้นเคยต่อสถานที่สิ่งแวดล้อมของโรงพยาบาล
กิจกรรมการรักษาพยาบาล
อุณหภูมิ
อาหาร
เสียง
ยา
การประเมินคุณภาพการนอนหลับและ การนอนหลับที่ผิดปกติ
Insomnia
การนอนหลับไม่เพียงพอชั่วคราว (Transient insomnia)
การนอนหลับไม่เพียงพอระยะสั้น (Short term insomnia)
การนอนหลับไม่เพียงพอแบบเรื้อรัง (Chronic insomnia)
โรคทางจิตเวช เช่น โรคซึมเศร้า
โรคทางอายุรกรรม เช่น โรคสมองเสื่อม
อาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ของยารักษาโรคบางชนิด
โรคของการนอนหลับโดยตรง เช่น อาการขากระตุกเป็นระยะๆ
Hypersomnia
เป็นการนอนหลับมาก หรือง่วงนอนมากกว่าปกติ ซึ่ง จะแสดงออก ในแง่การนอนหลับในที่ไม่ควรหลับ เช่น หลับขณะขับรถยนต์
Parasomnia
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงจากหลับมาตื่น หรือจากตื่นมาหลับ
อาการขากระตุกขณะก าลังหลับ (hypnic jerks) ละเมอพูด (sleep talking)
กลุ่มอาการที่เกิดขึ้นขณะหลับชนิดที่มีการกรอกตา
ภาวะฝัน ร้าย (nightmares) ภาวะผีอำ (sleep paralysis)
ความผิดปกติของการตื่น (around disorder)
อาการ สับสน (confusion arousals) ละเมอเดิน (sleepwalking) ฝันร้าย (sleep terror)
กลุ่มอื่น ๆ
การนอนกัดฟัน (sleep bruxism)
ผลที่เกิดจาการนอนหลับผิดปกติ
ผลจากการนอนไม่เพียงพอในการนอนชนิด NREM
ผลในภาพรวมจะทำให้การทำงานของร่างกายขาดประสิทธิภาพจากร่างกาย อ่อนล้า และขาดสมาธิ
ผลจากการนอนไม่เพียงพอในการนอนชนิด REM
การส่งเสริมการพักผ่อนการนอนหลับ
การจัดสิ่งแวดล้อม
ความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อย
ความพร้อมของอุปกรณ์ เครื่องใช้
อุณหภูมิ
เสียง
กลิ่น
แสงสว่าง
ความเป็นส่วนตัว และมิดชิดอย่างปลอดภัย
ความอบอุ่น
การจัดท่าทางสำหรับผู้ป่วย
Prone position เป็นท่านอนคว่ำ เป็นท่านอนที่สุขสบาย
Lateral position เป็นท่านอนตะแคง
Fowler’s position เป็นท่านอนราบศีรษะสูง 30-90 องศา
Sitting position เป็นท่านั่งที่สุขสบายส าหรับผู้ปุวยได้เปลี่ยน อิริยาบถ และพักผ่อนได้อย่างมีความสุข
Dorsal position (supine position) เป็นท่านอนหงายราบ
การทำเตียง
การทำเตียงผู้ปุวยลุกจากเตียงได้ (Open/unoccupied bed)
การทำเตียงผู้ปุวยลุกจากเตียงไม่ได้ (Occupied bed)
การทำเตียงว่าง (Close bed)
การทำเตียงรับผู้ปุวยหลังผ่าตัดและผู้ป่วยที่ได้รับยาสลบ (Surgical/ ether/anesthetic bed)
หลักปฏิบัติการทำเตียง
หากมีปูเตียงที่มีผู้ปุวยควรแจ้งให้ผู้ปุวยทราบก่อนการปฏิบัติ
รักษาท่าทางให้อยู่ในลักษณะที่ดี
ไม่ควรสะบัดผ้าหรือปล่อยให้เสื้อผ้าที่สวมอยู่สัมผัสกับเครื่องใช้ของผู้ป่วย
หันหน้าไปทิศทางในงานที่จะทำ ไม่ควรบิดหรือเอี้ยวตัว
คลุมผ้าคลุมเตียง วางผ้าห่มและและผ้าเช็ดตัวที่ราวพนักหัวเตียง จัดโต๊ะข้างเตียงให้เรียบร้อย
ควรใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ ในการหยิบของและควรย่อเข่าแทนการก้มทำงานอย่างนุ่มนวลและ สม่ำเสมอ
ควรทำเตียงให้เสร็จทีละข้าง โดยเริ่มจากผ้าปูที่นอน ผ้ายางขวางเตียง ผ้าขวางเตียง ใส่ปลอก หมอน
ยึดหลักการทำเตียงให้เรียบ ตึง ไม่มีรอยย่น สะอาด ไม่เปียกชื้น
วางผ้าให้จุดกึ่งกลางของผ้าทับลงตรงจุดกึ่งกลางของที่นอน
เตรียมของพร้อมใช้ตามลำดับก่อนหลังและวางให้ง่ายในการหยิบใช้สะดวก
จัดบริเวณรอบ ให้สะดวกต่อการปฏิบัติ
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการพักผ่อนและการนอนหลับ
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
วัตถุประสงค์
คุณภาพการนอนหลับเชิงปริมาณไม่ต่ ากว่า ร้อยละ 80
คุณภาพการนอนหลับเชิงคุณภาพ ผู้ปุวยนอนหลับสนิทได้มากขึ้น
การวางแผน
วางแผนให้ผู้ปุวยได้นอนหลับพักผ่อนเพียงพอกับความต้องการของร่างกายและ ปลอดภัย
เกณฑ์การประเมินผล
เพื่อให้ผู้ปุวยได้พักผ่อนได้เพียงพอกับความต้องการของร่างกายและ
ปลอดภัย
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
แจ้งให้ผู้ป่วยทราบเรื่องแขกผู้มาเยี่ยม เพื่อขอความร่วมมือ
ไม่ให้ดื่มน้ำหลัง 6 โมงเย็น เพื่อไม่ให้ลุกขึ้นถ่ายปัสสาวะตอนกลางคืน
จัดกิจกรรมการพยาบาลเป็นช่วง ไม่รบกวนการนอนของผู้ปุวย
งดกาแฟ ชา โค้ก ก่อนนอน
จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบ แสงสว่างเพียงพอ ขจัดสิ่งรบกวน
ให้มีกิจกรรมท าในตอนกลางวัน เช่น การอ่านหนังสือ ดูทีวี
ประเมินคุณภาพการนอนหลับทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
สร้างสัมพันธภาพให้ผู้ปุวยไว้วางใจและระบายความวิตกกังวล
ประเมินสาเหตุและแบบแผนการนอนตามปกติ (แบบแผนที่ 5)
สอนเรื่องเทคนิคการคลายเครียด และการจัดการกับความเครียด
พิจารณาให้ยาคลายเครียด ตามแผนการรักษา และดูแลความปลอดภัย อาจ เกิดอุบัติเหตุ
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
พักผ่อนไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกายเนื่องจากมีความวิตกกังวล
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ผลการประเมินคุณภาพการนอนหลับเชิงปริมาณไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 80
ผลการประเมินคุณภาพการนอนหลับเชิงคุณภาพ
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
ประเมินคุณภาพการนอนหลับ พบว่า คุณภาพการนอนหลับเชิงปริมาณ ร้อยละ 50 และคุณภาพการนอนหลับเชิงคุณภาพ