Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรักษาโรคเบื้องต้นในกลุ่มอาการที่พบบ่อย, image, image, นางสาวพรรณธิวา…
การรักษาโรคเบื้องต้นในกลุ่มอาการที่พบบ่อย
ท้องผูก (Constipation)
สาเหตุ
ยาแก้ปวดผสมโคเดอีนหรือฝิ่น
ยาแก้ โรคยาแก้ชัก
ยาบำรุงเลือด
โรคหัวใจ
การใช้ยาระบาย
การอั้นอุจจาระเป็นประจำ ทำให้นิสัยการถ่ายเสียไป
รับประทานอาหารที่มีเส้นใยอาหารน้อยเกินไป ดื่มน้ำน้อยเกินไป
ขาดการเคลื่อนไหวหรือออกกำลังกาย
การรักษาพยาบาล
ทานอาหารที่มีเส้นใยอาหารมากๆ ได้แก่ ผัก ผลไม้
ออกกำลังกายเป็นประจำ
ดื่มน้ำให้เพียงพอ
ฝึกการถ่ายให้เป็นนิสัย ให้ขับถ่ายเป็นเวลา
พิจารณาใช้ยาระบายที่เหมาะสมเป็นทางเลือกสุดท้าย และไม่ควรใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน
Diarrhea
อาการท้องร่วงไว้ 2 ชนิด
อาการท้องร่วงอย่างเฉียบพลัน หมายถึง อาการท้องร่วงที่เป็นทันทีทันใด แต่เป็นระยะสั้นๆ ไม่เกินสองสัปดาห์
อาการท้องร่วงชนิดเรื้อรัง หมายถึง อาการท้องร่วงที่เป็นติดต่อกันนานกว่าสองสัปดาห์และบางรายอาจเป็นเดือนหรือหลายเดือนติดต่อกัน หรือมีอาการเป็นพักๆ
สาเหตุ
ท้องร่วงจากการติดเชื้อ ทั้งจากเชื้อไวรัส เชื้อแบคทีเรีย โปรโตซัว ปรสิตและหนอนพยาธิ
ท้องร่วงชนิดไม่มีการติดเชื้อ โรคที่พบได้บ่อยในบ้านเรา
การติดต่อของโรค
โดยการรับประทานอาหารหรือดื่มน้ำที่ปนเปื้อนเชื้อที่ออกมากับอุจจาระของผู้ป่วย
ระยะฟักตัวของโรค
อาจสั้น 10-12 ชั่วโมง
หรือ 24-72 ชั่วโมง
ระยะติดต่อ
ช่วงระยะที่มีอาการของโรค
การป้องกันตนเองจากโรคอุจจาระร่วง
ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่ และน้ำทุกครั้ง ก่อนปรุงหรือรับประทานอาหารและภายหลังจากถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ
ดื่มน้ำที่สะอาด โดยน้ำต้มสุกจะดีที่สุด
เลือกรับประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม่ๆ และสะอาด
กำจัดขยะมูลฝอย เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธ์ของแมลงวัน
โรคนิ่วไต
สาเหตุ
ทั้งปัจจัยเสี่ยงทางด้านสิ่งแวดล้อม เมแทบอลิซึม พันธุกรรม วิถีการดำเนินชีวิต และอุปนิสัยการกินอาหารของตัวผู้ป่วยเอง
ชนิดของนิ่วมีหลากหลายชนิด องค์ประกอบส่วนใหญ่ในก้อนนิ่วเป็นผลึกแร่ธาตุ เช่น แคลเซี่ยมออกซาเลต แคลเซียมฟอสเฟต ยูเรต แมกนีเซี่ยมแอมโมเนี่ยมฟอสเฟต เป็นต้น
สารที่กระตุ้นการก่อผลึกเหล่านี้เรียกว่า “สารก่อนิ่ว” ได้แก่ แคลเซี่ยม ออกซาเลต ฟอสเฟต และกรดยูริก
สำหรับสารที่ป้องกันการก่อผลึกในปัสสาวะเรียกว่า “สารยับยั้งนิ่ว” ที่สำคัญได้แก่ ซิเทรต โพแทสเซียม และแมกนีเซียม
อาการ
ปัสสาวะขัดกระปริกระปรอย
พบตะกอนเหมือนก้อนกรวดเล็กๆ ปนออกมาพร้อมกับปัสสาวะ
ปัสสาวะมีสีแดงขึ้นจากเลือด
มีอาการปวดท้อง
ปวดหลัง
การรักษา
การใช้คลื่นเสียงกระแทกเพื่อสลายนิ่ว (ESWL)
การผ่าตัดเปิด
การนำนิ่วออกผ่านการใช้กล้องที่ส่องเข้าสู่ไต
การรักษาโรคนิ่วด้วยยา
กรดไฟติก
สารต้านอนุมูลอิสระ
น้ำมันปลา
หญ้าหนวดแมวหรือหญ้าเทวดา
นางสาวพรรณธิวา สิ่วสำแดง รหัส:601410019-8