Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ - Coggle Diagram
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ
การดูแลสุขภาพอนามัยส่วนบุคคล
การส่งเสริมสุขอนามัย
สุขอนามัย (Hygiene)หมายถึง หลักการและความรู้ของการคงไว้หรือรักษาไว้ซึ่งสุขภาพและการปูองกันโรค
สุขอนามัยส่วนบุคคล คือ การดูแลตนเอง
การอาบน้ำ
การขับถ่าย ปัสสาวะ อุจจาระ
การแต่งตัว
การออกกำลังกาย
การพักผ่อนนอนหลับ
ความสำคัญของการส่งเสริมสุขอนามัย
การทำความสะอาดร่างกายตนเองเป็นพฤติกรรมสุขภาพขั้นพื้นฐานที่ต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่ทุก วัน
เพื่อสร้างความมั่นใจ ในการอยู่รวมกับสังคมได้อย่างมีความสุข
ในภาวะเจ็บป่วย
ไม่มีความสุขทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ พยาบาลจะเป็นผู้ให้การพยาบาลเพื่อส่งเสริมความสุขสบายแก่บุคคลเมื่ออยู่ในภาวะเจ็บป่วย
เป็นสิ่งที่พยาบาลควรตระหนักถึงเนื่องจากความสุขสบายทั้งทางร่างกายและจิตใจจะช่วยส่งเสริมให้ผู้ปุวยมีความสุขกายสุขใจ
สามารถอดทนเผชิญต่อความเจ็บป่วยได้
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขอนามัยส่วนบุคคล
1.อายุ
เด็กเล็กไม่สามารถดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลได้ด้วยตนเองผู้ปกครองต้องให้การดูแลอย่างใกล้ชิด
ผู้สูงอายุที่ความสามารถในการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลลดลงผู้ดูแลต้องให้การดูแลทดแทนแบบพึ่งพา
เพศ
เพศหญิง
ต้องการความนุ่มนวลละเอียดอ่อน และมีความเกรงใจผู้อื่นที่มากกว่า
เป็นเพศที่อ่อนแอและไวต่อความรู้สึกกว่าเพศชายความต้องการการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
4.การศึกษา
ความรู้เพียงอย่างเดียวยังไม่พอเพียงผู้ปุวยต้องมีแรงจูงใจที่จะดูแลตนเอง เรียนรู้เกี่ยวกับโรคภัยไข้เจ็บและสามารถดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลให้ดีขึ้นได้
5.เศรษฐกิจ
บุคคลที่มีฐานะดี ย่อมมีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์บำรุงต่างๆ ให้เวลากับดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลมากขึ้น
เศรษฐกิจไม่พอเพียง ผู้ปุวยอาจต้องทำงานเพื่อหารายได้จนไม่มีเวลาดูแลตนเอง
6.อาชีพ
บุคคลที่มีอาชีพเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพจะมีความรู้ ความเข้าใจและให้ความสำคัญของการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลต่อการดำเนินชีวิตประจ าวัน
ถิ่นที่อยู่
การดำเนินชีวิตในเขตเมือง และเขตชนบท จะมีการใช้ชีวิตและมีความเป็นอยู่ที่แตกต่างกันส่งผลให้การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลมีความแตกต่างกันอย่างเป็นรูปธรรมชัดเจน
8.ภาวะเจ็บปุวย
ส่งผลในการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลลดลง
โรคหัวใจ ระยะที่ร่างกายอ่อนเพลียท าให้การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลลดลงจึงต้องการการดูแลทดแทนจากผู้อื่น
ภาวะการเจ็บปุวยทางจิต มีอาการซึมเศร้าไม่สนใจดูแลตนเอง
9.สิ่งแวดล้อม
ในฤดูร้อนอุณหภูมิจะสูงทำให้รู้สึกร้อนอบอ้าว
อากาศร้อนทำให้คนเรามีเหงื่อไคลและกลิ่นตัวที่ต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่เรื่องสุขอนามัยเพิ่มมากขึ้น
10.ขนบธรรมเนียมประเพณีและความเชื่อ และวัฒนธรรมของแต่ละบุคคล
ห้ามสระผมขณะมีไข้
หลังคลอดบุตรห้ามสระหรือตัดผม
11.ความชอบ
เป็นเรื่องส่วนตัวของแต่ละบุคคลที่ได้รับการฝึกอบรมด้านการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลมาจากครอบครัวโรงเรียน และปลูกฝังจนเป็นอุปนิสัยในการดูแลตนเองด้านความสะอาดร่างกาย
ความชอบของแต่ละบุคคล อาจไม่เหมือนกัน
างคนชอบโกนหนวดก่อนอาบน้ า
แต่บางคนชอบโกนหนวดหลังอาบน้ า
บางคนชอบอาบน้ าอุ่น
การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ดูแลสุขภาพต่าง ตามความต้องการ
บุคคลที่รู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า จะสนในตนเองและสิ่งแวดล้อม ดูแลรักษาความสะอาดครบถ้วนตามสุขบัญญัติ 10ประการ
บุคคลที่รู้สึกว่าตนเองไม่มีคุณค่ามักไม่ค่อยใส่ใจ ให้เวลาในการดูแลความสะอาดของร่างกายและสิ่งแวดล้อมเท่าที่ควร
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
1.การพยาบาลตอนเช้าตรู่หรือเช้ามืด
เป็นหน้าที่ความรับผิดชอบของพยาบาลเวรดึก ที่ให้การพยาบาลตอนเช้าตรู่หรือเช้ามืด
2.การพยาบาลตอนเช้า
เมื่อผู้ปุวยตื่นนอนแล้ว พยาบาลจะดูแลผู้ป่วย ช่วยเหลือ
การท าความสะอาดร่างกาย
3.การพยาบาลตอนบ่ายหรือตอนเย็น
4.การพยาบาลตอนก่อนนอน
เป็นหน้าที่ของพยาบาลเวรบ่าย
การให้หม้อนอนหรือกระบอกปัสสาวะ
การล้างมือ
ล้างหน้าท าความสะอาดปากฟัน
การนวดหลัง
การจัดท่าให้ผู้ปุวยได้พักผ่อนอย่างสุขสบาย
เพื่อให้ผู้ปุวยรู้สึกผ่อนคลายและเตรียมตัวเข้านอนช่วยให้พักผ่อนนอนหลับได้ดีขึ้น
5.การพยาบาลเมื่อจ าเป็นหรือเมื่อผู้ปุวยต้องการ
พยาบาลให้การพยาบาลตามความต้องการของผู้ปุวยตลอด 24ชั่วโม
การดูแลความสะอาดร่างกาย
การดูแลความสะอาดของผิวหนัง/การอาบน้ำ
การอาบน้ำที่ห้องน้ำ
เป็นการอาบโดยใช้ฝักบัว หรือตักน้ าอาบร่างกาย เมื่อผู้ปุวยสามารถลุกจากเตียงได้
ระวังผู้ปุวยพลัดตกหกล้มโดยอยู่ใกล้ ห้องน้ า
ไม่ควรใส่กลอนประตูห้องน้ำ ควรเรียกผู้ปุวยเป็นครั้งคราวเพื่อตรวจสอบให้แน่ใจว่าผู้ปุวยปลอดภัย
ประเมินความสามารถในการท ากิจกรรมของผู้ปุวยอยู่ในระดับ 0
การอาบน้ำาผู้ป่วยบนเตียงเฉพาะบางส่วน
เป็นการท าความสะอาดร่างกายผู้ปุวยที่ช่วยเหลือตัวเองได้บ้าง
ไม่สามารถอาบน้ าเช็ดตัวได้ครบทุกส่วน พยาบาลต้องช่วยเช็ดบางส่วนที่ผู้ปุวยไม่สารถเช็ดเองได้
โดยอาจใช้การนั่งข้างเตียง หรือบนเตียง ในกรณีที่ผู้ปุวย
หลังการผ่าตัดไส้ติ่ง
กระดูกขาหักใส่เฝือก
มีอาการอ่อนเพลียบ้าง
ให้ออกซิเจนเป็นครั้งคราวไม่สะดวกเดินไปห้องน้ าเอง
มีขวดน้ าเกลือไว้ฉีดยา
การอาบน้ าผู้ป่วยบนเตียงชนิดสมบูรณ์
เป็นการทำความสะอาดร่างกายโดยการอาบน้ าเช็ดตัวให้ผู้ปุวยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ทั้งหมดหรือผู้ปุวยที่จ ากัดการเคลื่อนไหวบนเตียง
จุดประสงค์การอาบน้ าผู้ปุวยบนเตียงเพื่อ
ก าจัดสิ่งสกปรก ที่สะสมบนผิวหนังและส่งเสริมความมั่นใจในตนเอง
ให้ผู้ปุวยรู้สึกสบาย สดชื่นและผ่อนคลาย
ประเมินการเคลื่อนไหวของร่างกายและส่งเสริมการออกกำลังกายของข้อต่าง
สังเกตความผิดปกติของผิวหนัง
กระตุ้นการไหลเวียนของโลหิตและปูองกันแผลกดทับ
การดูแลความสะอาดปากและฟัน
เป็นความสะอาดพื้นฐานท าให้ลมหายใจหอมสดชื่น
ผู้ปุวยมีความมั่นใจในการสื่อสารด้วยวาจา
สุขภาพของฟันแข็งแรง การเคี้ยวอาหารก็จะรับรู้ถึงความอร่อย ท าให้รับประทานอาหารได้มากขึ้น
วัตถุประสงค์ เพื่อ
ปากและฟันสะอาด มีความชุ่มชื่น
ก าจัดกลิ่นปาก ลมหายใจสดชื่น ปูองกันฟันผุ
ลดการอักเสบของเหงือก กระพุ้งแก้ม
สังเกตฟัน เหงือก กระพุ้งแก้มลิ้น มีแผล หรือการติดเชื้อ หรือเลือดออกหรือฝ้าในช่องปาก
การดูแลความสะอาดของเล็บ
เล็บเป็นโครงสร้างจากโปรตีน ซึ่งจะงอกยาวตามเวลา จึงต้องท าการตัดให้สั้นตามเหมาะสมกับการใช้งาน นอกจากการท าความสะอาดเล็บและตัดให้เรียบร้อยยังเป็นการช่วยเสริมบุคลิกภาพที่ดีอีกด้วย
การนวดหลัง(Back rub or back massage)
เป็นศิลปะที่ใช้การสัมผัสด้วยมือที่นุ่มนวลมีจังหวะ มีความหนักเบาและยังเป็นการสื่อสารติดต่ออย่างหนึ่งในการพยาบาลผู้ปุวยท าให้ผู้ปุวยเกิดความไว้วางใจและมีสัมพันธภาพที่ดีกับพยาบาล มักจะกระท าหลังจากการอาบน้ าหรือก่อนนอนมีหลักการนวดหลัง
จุดประสงค์การนวดหลัง
กระตุ้นการไหลเวียนโลหิต
ปูองกันแผลกดทับ3
ให้กล้ามเนื้อผ่อนคลาย ลดความตึงตัว
กระตุ้นผิวหนังและต่อมเหงื่อให้ท างานดีขึ้น
สังเกตความผิดปกติของผิวหนังบริเวณหลัง
เครื่องใช้
ครีมหรือโลชั่นทาตัวหรือแปูง
ผ้าห่ม 1 ผืน และผ้าเช็ดตัว 1ผืน
การดูแลความสะอาดของตา
เป็นการท าความสะอาดตา รวมทั้งการกระท าเพื่อแก้ปัญหาด้านอนามัยของตา ซึ่งในที่นี้จะกล่าวถึงการท าความสะอาดตาที่มีขี้ตา และการดูแลอนามัยของตาในผู้ปุวยที่ไม่รู้สึกตัว
การดูแลท าความสะอาดของหู
หูเป็นอวัยวะรับรู้สึกที่เกี่ยวกับการได้ยินและการทรงตัว
ส าหรับผู้ปุวยที่ใส่เครื่องช่วยฟังต้องดูแลเป็นพิเศษการหยิบใช้หรือเช็ดท าความสะอาดส่วนประกอบของเครื่องช่วยฟังการเปลี่ยนแบตเตอรี่ใหม่การปรับเสียงต้องระมัดระวัง
การดูแลท าความสะอาดของจมูก
ป็นการท าความสะอาดรูจมูกและรักษาสุขภาพของเนื้อเยื่อจมูกโดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ปุวยที่คาสายไว้
การดูแลความสะอาดของเส้นผมและหนังศีรษะ
เป็นการท าความสะอาดเส้นผมและหนังศีรษะรวมทั้งการกระท าเพื่อแก้ปัญหาของเส้นผมและหนังศีรษะซึ่งในที่นี้หมายถึง การสระผมให้ผู้ปุวยบนเตียง
การท าความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของชายและหญิง
การท าความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของผู้ชาย
เป็นการท าความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกและบริเวณใกล้เคียง เช่น ขาหนีบ ฝีเย็บ และบริเวณทวารหนัก ปกติจะช าระให้วันละ 1-2ครั้ง และหลังจากถ่ายปัสสาวะหรืออุจจาระเรียกสั้น ว่า P-careหรือ flushing
การท าความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของผู้หญิง
เป็นการท าความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกและบริเวณใกล้เคียง เช่น ขาหนีบ ฝีเย็บ และบริเวณทวารหนัก ปกติจะช าระให้วันละ 1-2ครั้ง และหลังจากถ่ายปัสสาวะหรืออุจจาระเรียกสั้น ว่า P-careหรือ flushing
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมสุขอนามัยส่วนบุคคลของผู้ป่วย
การประเมินผู้ปุวย(Health assessment)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
การส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
การพักผ่อนของผู้ปุวยในโรงพยาบาล
Absolute bed rest
เป็นการพักผ่อนโดยให้ผู้ปุวยนอนอยู่บนเตียง ไม่ให้ร่างกายออกแรงในกิจกรรมใด ที่จะท าให้รู้สึกเหนื่อย
ห้ามลุกออกจากเตียง การท ากิจกรรมการพยาบาล พยาบาลจะต้องเป็นผู้จัดกิจกรรมให้
bed rest
เป็นการพักผ่อนโดยให้ผู้ปุวยนอนอยู่บนเตียง สามารถท ากิจกรรมประจ าวันได้ตามความสามารถของผู้ปุวย
ความส าคัญของการพักผ่อนและการนอนหลับ
ส่งเสริมการเจริญเติบโตซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอโดยมีการสร้างและสะสมพลังงานในขณะหลับ
ซ่อมแซมและสร้างเนื้อเยื่อขึ้นใหม่ช่วยส่งเสริมการหายของแผลรวมถึงมีการช่วยสะสมพลังงานไว้ใช้ในวันต่อไป
สงวนพลังงานพลังงานที่ใช้ของร่างกายและสมองจะลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงตื่น
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และความจ า
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
ผลกระทบจากปัญหาการนอนหลับ
ร่างกาย
ท าให้เกิดอาการเปลี่ยนแปลงต่าง เช่นอาการเมื่อยล้าคลื่นไส้อาเจียนท้องผูกปวดศีรษะวิงเวียนเหมือนบ้านหมุน
ความทนต่อความเจ็บปวดลดลงกล้ามเนื้อคออ่อนแรงความคิดและการรับรู้บกพร่องเหนื่อยล้าเฉื่อยชาการพูดเสียไปตัดสินใจได้ช้าและรู้สึกว่าตนเองมีการตอบสนองต่อการกระตุ้นจากสิ่งเร้าได้ง่ายความทนต่อความเจ็บปวดลดลง
จิตใจและอารมณ์
ท าให้มีการเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ได้ง่ายอาจมีอาการเซื่องซึมและหงุดหงิดโมโหง่ายเกิดความสับสนและความสามารถในการควบคุมตนเองจาก สิ่งเร้าลดลง
มีอาการหวาดระแวงและหูแว่วไม่สามารถยับยั้งพฤติกรรมความก้าวร้าวของตนเองได้
สติปัญญาและการรับรู้
เมื่อนอนหลับไม่เพียงพอท าให้การปฏิบัติกิจกรรมในช่วงกลางวันลดลงสมาธิไม่ดีและแก้ไขปัญหาได้ช้า
ทางสังคม
การมีปฏิสัมพันธ์ในครอบครัวและสังคมลดลงความมั่นใจในการท างานลดลงและมีการใช้ระบบบริการทางด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น
วงจรการนอนหลับ
ช่วงหลับธรรมดา
ระยะที่ 1 (เริ่มมีความง่วง)เป็นช่วงเริ่มหลับที่เปลี่ยนจากการตื่นไปสู่ การนอน ในคนทั่วไปใช้เวลาตั้งแต่ 30 วินาที -7 นาทีเป็นสภาพที่แม้จะได้รับการกระตุ้นเพียงเล็กน้อยก็จะตื่น
ระยะที่ 2 (หลับตื้น)การหลับในช่วงต้น เป็นสภาพที่ไม่ได้ยินเสียงรบกวนจากภายนอก เป็นระยะแรกที่มีการหลับอย่างแท้จริง แต่ยังไม่มีการฝัน ระยะนี้จะถูกปลุกให้ตื่นได้โดยง่าย
ะยะที่ 3 (หลับปานกลาง)ทั้งคลื่นสมองและชีพจรจะเต้นช้าลง ความมีสติรู้ตัวจะหายไป การเคลื่อนไหวของตาจะหยุดลง จะไม่ตื่นโดยง่าย ขั้นนี้จะใช้เวลาประมาณ 20 -30 นาที
ะยะที่ 4 (หลับลึก)เป็นช่วงหลับสนิทของการนอน ใช้เวลา 30 -50 นาที หากว่าร่างกายนอนหลับโดยปราศจากระยะที่ 4 นี้ อาจมีการนอนละเมอหรือฝันร้ายได้ ระยะนี้อุณหภูมิร่างกายและความดันโลหิตจะลดลง อัตราการเต้นของหัวใจลดลง 60 ครั้งต่อนาที growth hormone จะมีการหลั่งในระยะนี้
ช่วงหลับฝัน
เป็นช่วงที่กล้ามเนื้อต่าง ของร่างกายแทบจะหยุดการท างานกันหมด แต่ระบบการท างานของหัวใจ กระบังลมเพื่อการหายใจ กล้ามเนื้อตา และกล้ามเนื้อเรียบ
ปัจจัยที่มีผลต่อการพักผ่อนและการนอนหลับ
ปัจจัยภายใน
ปัจจัยส่วนบุคคล
อายุ
เพศ
ความไม่สุขสบาย
ความเจ็บปวด
การใส่สายยางและท่อระบายต่าง
ท่านอนที่ไม่เหมาะสม
อาการคลื่นไส้ อาเจียน
ภาวะไข้หลังผ่าตัด
ความวิตกกังวล
ปัจจัยภายนอก
เสียง
อุณหภูมิ
แสง
ความไม่คุ้นเคยต่อสถานที่สิ่งแวดล้อมของโรงพยาบาล
กิจกรรมการรักษาพยาบาล
อาหาร
ยา
การประเมินคุณภาพการนอนหลับและ การนอนหลับที่ผิดปกติ
Insomnia
การนอนหลับไม่เพียงพอชั่วคราว
การนอนหลับไม่เพียงพอระยะสั้น
การนอนหลับไม่เพียงพอแบบเรื้อรัง
โรคทางจิตเวช
โรคทางอายุรกรรม
อาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ของยารักษาโรคบางชนิด
โรคของการนอนหลับโดยตรง
Hypersomnia
Parasomnia
Parasomnia
ความผิดปกติของการตื่น
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงจากหลับมาตื่น หรือจากตื่นมาหลับ
กลุ่มอาการที่เกิดขึ้นขณะหลับชนิดที่มีการกรอกตา
ผลที่เกิดจาการนอนหลับผิดปกติ
ผลจากการนอนไม่เพียงพอในการนอนชนิด NREM
เมื่อยล้า
คลื่นไส้
อาเจียน
ท้องผูก
เวียนศีรษะ
ทนต่อความเจ็บปวดได้ลดลง กล้ามเนื้อคออ่อนแรง ภูมิต้านทานลดลง ระดับความรู้สึกตัวบกพร่อง
ผลจากการนอนไม่เพียงพอในการนอนชนิด REM
ความคิดบกพร่อง การรับรู้บกพร่อง ประสาทหลอน
ผลในภาพรวมจะท าให้การท างานของร่างกายขาดประสิทธิภาพจากร่างกายอ่อนล้า และขาดสมาธิ
การส่งเสริมการพักผ่อนการนอนหลับ
การจัดสิ่งแวดล้อม
ความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อยสวยงามและน่าอยู่อาศัยสภาพแวดล้อมของที่พักต้องสะอาด สวยงาม และน่าอยู่
ความพร้อมของอุปกรณ์เครื่องใช้และเครื่องอ านวยความสะดวกต่างจัดให้มีของใช้เฉพาะที่จ าเป็นส าหรับผู้ปุวย
อุณหภูมิมีความเหมาะสมของอุณหภูมิระหว่าง 20-25 องศาเซลเซียสมีการถ่ายเทระบายอากาศดี มีแสงสว่างส่องเพียงพอ ซึ่งอาจจะมีม่านบังแสง และสามารถปรับระดับความสว่างได้ตามความต้องการ
เสียงแหล่งก าเนิดเสียงจากภายนอกห้อง หรือเกิดจากผู้ให้บริการ หรือ จากญาติที่มาเยี่ยมไข้
กลิ่น
กลิ่นหอม
กลิ่นเหม็น
แสงสว่าง
ความเป็นส่วนตัว และมิดชิดอย่างปลอดภัย
ความอบอุ่น และความประทับใจในบุคลิกภาพของพยาบาล
การจัดท่าทางส าหรับผู้ป่วย
Dorsal position
เป็นท่านอนหงายราบ ขาชิดติดกัน ใช้ในการตรวจร่างกายทั่วไป เป็นท่านอนที่จัดขึ้นเพื่อความสุขสบาย
Fowler’s position
ป็นท่านอนราบศีรษะสูง 30-90 องศา เป็นท่านอนที่สุขสบายและเพื่อการรักษา ท่านี้ลักษณะคล้ายท่านั่งบนเตียง
Prone position
เป็นท่านอนคว่ า เป็นท่านอนที่สุขสบาย ส าหรับผู้ปุวย ที่ไม่รู้สึกตัว แต่มีการหายใจปกติ
Lateral position
เป็นท่านอนตะแคงจัดเพื่อความสุขสบายของผู้ปุวย ที่ช่วยเหลือเคลื่อนไหวด้วยตนเองไม่ได้
Sitting position
เป็นท่านั่งที่สุขสบายส าหรับผู้ปุวยได้เปลี่ยนอิริยาบถ และพักผ่อนได้อย่างมีความสุข เพื่อความปลอดภัย และความสุขสบายควรมีที่เท้าแขน
การท าเตียง
เป็นการส่งเสริมการพักผ่อนกลการนอนหลับให้มีความสุข มีคุณภาพการนอนหลับที่ดี
พยาบาลต้องดูแลจัดความสะอาดเป็นระเบียบเรียบร้อยให้ผู้ปุวยนอนหลับได้อย่างมีความสุขตลอดระยะเวลาขณะที่นอนพักรักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล
การท าเตียงว่างเป็นการท าเตียงที่ผู้ปุวยจ าหน่ายออกจากหอผู้ปุวย เพื่อเตรียมรับผู้ปุวยใหม่ หรือท าเตียงที่ผู้ปุวยสามารถลงเดินช่วยเหลือตนเองได้
การท าเตียงผู้ป่วยลุกจากเตียงได้ เป็นการท าเตียงให้ผู้ปุวยที่สามารถลุกจากเตียงได้ ไม่จ าเป็นต้องนอนอยู่บนเตียงตลอดเวลา
การท าเตียงรับผู้ป่วยหลังผ่าตัดและผู้ป่วยที่ได้รับยาสลบ เป็นการท าเตียงหลังจากส่งผู้ปุวยไปรับการผ่าตัดหรือการตรวจและได้รับยาสลบ
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการพักผ่อนและการนอนหลับ
การประเมินภาวะสุขภาพ
S:“นอนไม่หลับมา 3 วัน บางคืนหลับได้สักครู่ก็สะดุ้งตัวตื่น ”
O: จากการตรวจร่างกายพบ ท่าทางอิดโรย ไม่สดชื่น ขอบตาทั้งสองข้างเขียว เหมือนคนอดนอนมาหลายวัน
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
พักผ่อนไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกายเนื่องจากมีความวิตกกังวล
การวางแผนการพยาบาล
เพื่อให้ผู้ปุวยได้พักผ่อนได้เพียงพอกับความต้องการของร่างกายและปลอดภัย
การปฏิบัติการพยาบาล
ประเมินสาเหตุและแบบแผนการนอนตามปกติ(แบบแผนที่ 5)
2.ประเมินคุณภาพการนอนหลับทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบ แสงสว่างเพียงพอ ขจัดสิ่งรบกวน
4.จัดกิจกรรมการพยาบาลเป็นช่วง ไม่รบกวนการนอนของผู้ปุวย
แจ้งให้ผู้ปุวยทราบเรื่องแขกผู้มาเยี่ยม เพื่อขอความร่วมมือ
6.ไม่ให้ดื่มน้ าหลัง 6โมงเย็น เพื่อไม่ให้ลุกขึ้นถ่ายปัสสาวะตอนกลางคืน
7.งดกาแฟ ชา โค้ก ก่อนนอน
ให้มีกิจกรรมท าในตอนกลางวัน เช่น การอ่านหนังสือ ดูทีวี เป็นต้น
สร้างสัมพันธภาพให้ผู้ปุวยไว้วางใจและระบายความวิตกกังวล
สอนเรื่องเทคนิคการคลายเครียด และการจัดการกับความเครียด
พิจารณาให้ยาคลายเครียด ตามแผนการรักษา และดูแลความปลอดภัย อาจเกิดอุบัติเหตุ
การประเมินผลการพยาบาล
ผลการประเมินคุณภาพการนอนหลับเชิงปริมาณไม่ต่ ากว่า ร้อยละ 80
ผลการประเมินคุณภาพการนอนหลับเชิงคุณภาพผู้ปุวยนอนหลับสนิทได้มากขึ้น