Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 การวัดและการบันทึก - Coggle Diagram
บทที่ 1 การวัดและการบันทึก
1.ก่อนวัดต้องมีอะไรบ้าง
วัตถุต่างๆที่จะวัด
เครื่องมือวัด
2.มีเครื่องมือวัดแล้วต้องรู้ศัพท์กี่คำ อะไรบ้าง
2 คำ
1.ค่าความละเอียดของเครื่องมือวัด(leasst count)
คือ ความยาวของช่องที่เล็กที่สุดบนเครื่องมือวัด
2.ค่าคลาดเคลื่อน(error)
กรณี 1 เป็น±0.1 เมื่อทศนิยมตัวที่ 1 ไม่แน่นอน
กรณี 2 เป็น±0.01 เมื่อทศนิยมตัวที่ 2 ไม่แน่นอน
3.การวัดคืออะไร
การนำวัตถุที่วัดทาบลงบนเครื่องมือวัด
4.วัดแล้วได้อะไร
ปริมาณทางฟิสิกส์
5.การบันทักปริมาณทางฟิสิกส์ที่ได้หลังการวัดบันทึกได้อย่างไร
ให้บันทึกปริมาณทางฟิสิกส์ไว้ทางซ้ายตามด้วยเท่ากับพร้อมเครื่องหมายต่อด้วยเลขที่เน่นอนจนถึงเลขคาดคะเน ตามด้วย±กับค่าควาดเคลื่อนและหน่วย
6.ปริมาณทางฟิสิกส์มีเรื่องที่ควรทราบกี่เรื่อง อะไรบ้าง
3 เรื่อง
1.ปริมาณทางฟิสิกส์คืออะไร
ปริมาณที่ได้จากนักฟิสิกส์
2.ปริมาณทางฟิสอกส์มีกี่ประเภท อะไรบ้าง
2 ประเภท
สเกลาร์
(บอกขนาด)
เวกเตอร์
(บอกขนาดและทิศทาง)
3.ปริมาณทางฟิสิกส์มีกี่องค์ประกอบ อะไรบ้าง
3 องค์ประกอบ
เครื่องหมาย
(+,-) แทนทิศทาง
กลุ่มตัวเลข
ค่าคลาดเคลื่อน
เลขนัยสำคัญ คือ ตัวเลขที่บ่งบอกลักษณะสเกลของเครื่องมือวัด,บอกนิสัยของผู้วัด
ถ้า+,-กันตอบเลขนัยสำคัญเป็นจำนวนทศนิยมที่น้อยที่สุด
ถ้า×,÷กันตอบเลขนัยสำคัญเป็นจำนวนเลขนัยสำคัญที่น้อยที่สุด
หน่วย
หน่วยเสริม
เกิดจากมูลฐานคูณกัน
หน่วยอนุพัทธ์
หน่วยมูลฐาน
m ระยะทาง
kg น้ำหนัก/มวล
s เวลา
A กระแสไฟฟ้า
K อุณหภูมิ
mole ปริมาณสาร
cd ความเข้มของการส่องสว่าง
7.ระดับขนาดคืออะไร หาอย่างไร
คือ เลขสิบยกกำลังที่มีค่าใกล้ตัวที่ต้องการหาระดับขนาดที่มากที่สุดหาได้ดังนี้
ให้เขียนเลขที่ต้องการระดับขนาดเป็นเลขสิบยกกำลัง
พิจารณาเลขข้างหน้าสิบยกกำลัง
มากกว่า 5 ปัดไป 10
น้อยกว่า 5 ปัดลงมา 1
หาระดับขนาดเป็นสิบยกกำลัง