Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สังคมชมพูทวีป - Coggle Diagram
สังคมชมพูทวีป
ด้านสังคม
-
-
-
-
(3) วรรณะแพศย์หรือไวศยะ คือประชาชนส่วนใหญ่ที่มีหน้าที่ประกอบอาชีพต่าง ๆ เช่น
กสิกรรม พาณิชยกรรม เกษตรกรรม ศิลปกรรม ศิลปหัตถกรรม ต่อมามักจะหมายถึงพ่อค้า
-
นอกจากนี้ยังมีชนชั้นต่ำอีกประเภทหนึ่งเรียกว่า จัณฑาล ถือว่าเป็นคนนอกวรรณะเพราะกำเนิดมาจาก บิดา มารดา
ที่ถือวรรณะต่างกัน พวกนี้จะถูกเหยียดหยามจากวรรณะอื่น ไม่มีสิทธิ ใด ๆ ในสังคม
จุดปรเชิงพฤติกรรม
-
- วิเคราะห์ลักษณะสังคมของชมพูทวีปสมัยพุทธกาลได้
-
-
-
ด้านการปกครอง
-
-
2.1 การปกครองแบบราชาธิปไตยหรือสมบูรณาญาสิทธิราช หมายถึงการปกครองที่มีกษัตริย์เป็นประมุข
มีอำนาจสิทธิ์ขาดในการปกครอง แต่มีปุโรหิตเป็นที่ปรึกษาและยึดอุดมการณ์ ที่จะปกครองโดยธรรมมีรัชทายาทสืบสันติวงค์
แคว้นที่ปกครองด้วยระบบนี้คือ แคว้นมคธ แคว้นโกศล แคว้นอวันตี เป็นต้น
2.2 การปกครองแบบสามัคคีธรรม เป็นการปกครองที่จัดทำโดยรัฐสภา กษัตริย์ไม่มีอำนาจสิทธิ์ขาด ไม่มีตำแหน่งรัชทายาท มีประมุขรัฐสภาดำรงตำแหน่งตามระยะเวลาที่กำหนดหรือมีคณะกรรมการบริหารซึ่ง เลือกจากหัวหน้าครอบครัวใหญ่ ๆ ในชนบท(เมือง) นิคม(อำเภอ) คาม(ตำบล)ลักษณะการปกครองแบบนี้คล้ายกับการปกครองแบบประชาธิปไตยในปัจจุบัน แคว้นที่ปกครองแบบนี้เช่น แคว้นวัชชี
-
ด้านการเมือง
ชมพูทวีป หมายถึงประเทศอินเดียในปัจจุบัน สมัยพุทธกาลมีชนชาติมิลักขะเป็นเจ้าถิ่นเดิม ต่อมาได้ถูกชนชาติอริยกะเข้าปกครอง มีการแบ่งเป็นแว่นแคว้นต่าง ๆ แต่ละแคว้นเรียกว่า ชนบท เฉพาะเขตที่มีอาณากว้างขวางเรียกว่า มหาชนบท ชนบทเหล่านี้แบ่งเป็น 2 ส่วน1