Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่3 การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ - Coggle Diagram
บทที่3 การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ
การส่งเสริมสุขอนามัยส่วนบุคคล
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขอนามัยส่วนบุคคล
อาชีพ
ถิ่นที่อยู่
เศรษฐกิจ
ภาวะเจ็บป่วย
การศึกษา
สิ่งแวดล้อม
ภาวะสุขภาพ
ขนบธรรมเนียมประเพณ๊และความเชื่อ
เพศ
ความชอบ
อายุ
การดูแลความสะอาดส่วนต่าง ร่างกาย
การพยาบาลตอนบ่ายหรือตอนเย็น (Afternoon care/P.M.care)
เป็นหน้าที่ของพยาบาลเวรเช้า หากทำกิจกรรมภายในช่วงก่อนเวลา 16.00 น. หากท าในช่วงเวลาตอนเย็น จะเป็นหน้าที่ของเวรบ่ายในการดูแลท าความสะอาดปากและฟัน การล้างมือ ล้างหน้า หวีผม สระผมการให้บริการหม้อนอน หรือกระบอกปัสสาวะ ตลอดจนการรักษาพยาบาลอื่นๆ
การพยาบาลตอนก่อนนอน (Evening care/Hour of sleep care/ H.S.care)
เป็นการพยาบาลที่ให้การดูแลเรื่องการให้หม้อนอนหรือกระบอกปัสสาวะ การล้างมือ ล้างหน้าท าความสะอาดปากฟัน การนวดหลัง การจัดท่าให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนอย่างสุขสบาย เพื่อให้ผู้ป่วยรู้สึกผ่อนคลายและเตรียมตัวเข้านอนช่วยให้พักผ่อนนอนหลับได้ดีขึ้น
การพยาบาลตอนเช้า (Morning care/A.M care)
ให้การพยาบาลภายหลังผู้ป่วยรับประทานอาหารเช้าเสร็จเรียบร้อย เป็นการพยาบาลเพื่อดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลประจำวัน
การพยาบาลเมื่อจ าเป็นหรือเมื่อผู้ปุวยต้องการ (As neededcare/P.r.N.care)
ให้การพยาบาลตามความต้องการของผู้ป่วยตลอด 24ชั่วโมง
ถ้าผู้ป่วยปัสสาวะรดที่นอนเปียกทั้งตัวพยาบาลจะช่วยเช็ดตัว ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก การเปลี่ยนเสื้อผ้า ผ้าปูที่นอนให้ผู้ป่วย
การพยาบาลตอนเช้าตรู่หรือเช้ามืด(Early morning care)
การพยาบาลตอนเช้าตรู่หรือเช้ามืด เมื่อผู้ปุวยตื่นนอนแล้ว พยาบาลจะดูแลผู้ป่วย ช่วยเหลือเรื่องการขับถ่ายปัสสาวะ อุจจาระ การให้กระบอกปัสสาวะ หรือหม้อนอน การท าความสะอาดร่างกาย
การเช็ดหน้า ล้างมือ ความสะอาดปากและฟัน
ความหมายและความสำคัญของการดูแลสุขภาพอนามัยส่วนบุคคล
เป็นสิ่งที่พยาบาลควรตระหนักถึงเนื่องจากความสุขสบายทั้งทางร่างกายและจิตใจจะช่วยส่งเสริมให้ผู้ปุวยมีความสุขกายสุขใจ
สามารถอดทนเผชิญต่อความเจ็บปุวยได้
การดูแลสุขอนามัยเป็นความต้องการพื้นฐานของมนุษย์
เพื่อช่วยขจัดสิ่งที่ท าให้ผู้ปุวยไม่สุขสบาย
ส่งเสริมให้ผู้ปุวยเกิดความสุขสบายทั้งร่างกายและจิตใจมีคุณภาพที่ดีและมีความสุข
การดูแลความสะอาดร่างกาย
การดูแลความสะอาดของตา
การทำความสะอาดตา
ผู้ป่วยบางรายอาจมีขี้ตามากกว่าปกติ ขี้ตาอาจแห้งติดหนังตาหรือขนตา ซึ่งจำเป็นต้องกำจัดออก ไปวันละ 2-3 ครั้ง
จุดประสงค์
กำจัดขี้ตา ทำให้ดวงตาสะอาด
ความสุขสบายของผู้ป่วย
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ป่วย
เครื่องใช้
ถุงมือสะอาดและmask
ถาดใส่อับสำลีชุบ 0.9% NSS และชามรูปไต
การดูแลทำความสะอาดของหู
โดยปกติคนทั่วไปจะดูแลหูเฉพาะด้านนอกให้สะอาดปราศจากขี้ไคลบริเวณหลังใบหูหลังสระผมมักจะมีน้ำเปียกในช่องหูใช้ผ้าขนหนูนุ่ม เช็ดให้แห้ง การเช็ดทำความสะอาดช่องหูหลังอาบน้ าควรใช้ไม้พันสำลีเช็ดทำความสะอาดในช่องหูทั้ง2 ข้าง สำหรับผู้ป่วยที่ใส่เครื่องช่วยฟังต้องดูแลเป็นพิเศษการหยิบใช้หรือเช็ดทำความสะอาดส่วนประกอบของเครื่องช่วยฟังการเปลี่ยนแบตเตอรี่ใหม่การปรับเสียงต้องระมัดระวัง
จุดประสงค์
กำจัดสิ่งสกปรกภายในช่องหู
ทำความสะอาดใบหูและหลังใบหู
เครื่องใช้
สำลีสะอาดหรือไม้พันสำลี 4 อัน
ผ้าสะอาด
0.9%NSSหรือน้ำสะอาด
ชามรูปไต
กระดาษเช็ดปาก
การดูแลความสะอาดของเล็บ
จุดประสงค์
ให้เล็บสะอาด และสุขสบาย
ป้องกันการเกิดเล็บขบ
เครื่องใช้
ถาดใส่สบู่ ผ้าถูตัว ผ้าเช็ดตัว กรรไกรตัดเล็บ ตะไบเล็บ กระดาษรอง
อ่างใส่น้ำอุ่น
ถุงมือสะอาด และmask
การดูแลทำความสะอาดของจมูก
เป็นการทำความสะอาดรูจมูกและรักษาสุขภาพของเนื้อเยื่อจมูกโดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่คาสายไว้ เช่น สายยางให้อาหาร (nasogastric tube: NG tube) สายออกซิเจน
จุดประสงค์
กำจัดสิ่งขับถ่ายและสิ่งสกปรกภายในจมูก
ป้องกันสารคัดหลั่งแห้งยึดขนจมูกกับสายที่คาไว้
ป้องกันการเกิดแผลกดทับที่ด้านในรูจมูกจากสายที่คาไว้
เครื่องใช้
ผ้าก๊อซ
ชามรูปไต
กระดาษเช็ดปาก
อับสำลีชุบแอลกอฮอล์70% ส าลีชุบเบนซินและสำลีชุน้ำเกลือใช้ภายนอก
พลาสเตอร์ ถุงมือสะอาดและmask
ไม้พันสำลีขนาดเล็ก4-8 อัน
ถาดใส่แก้วใส่น้ำสะอาดหรือ 0.9%NSS
การดูแลความสะอาดปากและฟัน
วัตถุประสงค์
กำจัดกลิ่นปาก ลมหายใจสดชื่น ป้องกันฟันผุ
ลดการอักเสบของเหงือก กระพุ้งแก้ม
ปากและฟันสะอาด มีความชุ่มชื่น
สังเกตฟัน เหงือก กระพุ้งแก้มลิ้น มีแผล หรือการติดเชื้อ หรือเลือดออกหรือฝ้าในช่องปาก
หลักการทำความสะอาดปากและฟัน
ผู้ป่วยที่มีปัญหาในช่องปาก มีแผล ปากแห้ง ไม่สามารถรับประทานอาหารและน้ำทางปากได้ ต้องทำความสะอาดปากและฟันให้ทุก2ชั่วโมง
ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว พยาบาลต้องทำความสะอาดปากและฟันให้เป็นพิเศษ สำลีที่ใช้เช็ดทำความสะอาดต้องเปลี่ยนบ่อย
แปรงฟันทุกซี่ ทุกด้าน นาน 5นาที เพื่อขจัดคราบหินปูน และเศษอาหารในเวลาเช้า หลังอาหารทุกมื้อและก่อนนอน
การดูแลความสะอาดของเส้นผมและหนังศีรษะ
วัตถุประสงค์
ความสุขสบายและสดชื่นของผู้ป่วย
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ป่วยและรู้สึกมีความมั่นใจ
ขจัดความสกปรกและสารที่ใส่บนผม และหนังศีรษะเพื่อการตรวจรักษา
เครื่องใช้
รถเข็นสระผมเคลื่อนที่ พร้อมถังรองน้ำทิ้ง
ผ้ายางรองสระผม
เครื่องเป่าผม
ถุงมือสะอาดและmask
ถาดใส่ยาสระผมหวีหรือแปรงผม ที่หนีบผ้า (ถ้าใช้ผ้ายางเป็นอุปกรณ์รองรับน้ำจากศีรษะ)ผ้าเช็ดตัว 2 ผืนสำลี 2ก้อน ผ้าเช็ดหน้าผืนเล็ก 1 ผืนแก้วน้ำและน้ำมันมะกอก
เป็นการทำความสะอาดเส้นผมและหนังศีรษะรวมทั้งการกระทำเพื่อแก้ปัญหาของเส้นผมและหนังศีรษะซึ่งในที่นี้หมายถึง การสระผมให้ผู้ป่วยบนเตียง(shampoo in bed)
การนวดหลัง(Back rub or back massage)
ไม่นวดแรงเกินไปจนผู้ป่วยเจ็บ
นวดเป็นจังหวะสม่ำเสมอ
ไม่นวดบริเวณที่มีการอักเสบ มีแผล กระดูกหัก ผู้ป่วยโรคหัวใจภาวะมีไข้ โรคผิวหนังโรคมะเร็งระยะลุกลามแพร่กระจาย
เลือกใช้แปูงหรือโลชันหรือครีมเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง
จัดท่าให้ผู้ป่วยสุขสบาย
ใช้เวลานวดประมาณ 5-10 นาที
จุดประสงค์
ป้องกันแผลกดทับ
ให้กล้ามเนื้อผ่อนคลาย ลดความตึงตัว
กระตุ้นการไหลเวียนโลหิต
กระตุ้นผิวหนังและต่อมเหงื่อให้ทำงานดีขึ้น
สังเกตความผิดปกติของผิวหนังบริเวณหลัง
เครื่องใช้
ครีมหรือโลชั่นทาตัวหรือแป้ง
ผ้าห่ม 1 ผืน และผ้าเช็ดตัว 1ผืน
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของชายและหญิง
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของผู้ชาย(Perineal careof male)เป็นการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกและบริเวณใกล้เคียง
ขาหนีบ ฝีเย็บ และบริเวณทวารหนัก ปกติจะชำระให้วันละ 1-2ครั้ง และหลังจากถ่ายปัสสาวะหรืออุจจาระเรียกสั้น ว่า P-careหรือ flushing
เครื่องใช้
ผ้าปิดตา
ถุงมือสะอาด
หม้อนอน(bed pan) พร้อมผ้าคลุมหม้อนอน (bed pad)ผ้ายางผืนเล็ก
ถาดใส่ของประกอบด้วย
น้ำสบู่ หรือสบู่เหลว
ชุดชำระ (P-careset)ประกอบด้วยชามกลม (bowl) สำลีก้อนใหญ่สำหรับชำระ 7 ก้อนและปากคีบ (forceps) 1 ตัว
ภาชนะใส่ขยะ หรือกระโถน
น้ำเกลือ (0.9% NSS) ใช้ภายนอกหรือน้ำสะอาด
ภาชนะใส่ขยะ หรือกระโถน
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของผู้หญิง(Perineal careof female)เป็นการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกและบริเวณใกล้เคียง
ขาหนีบ ฝีเย็บ และบริเวณทวารหนัก ปกติจะชำระให้วันละ 1-2ครั้ง และหลังจากถ่ายปัสสาวะหรืออุจจาระเรียกสั้น ว่า P-careหรือ flushing
จุดประสงค์
ลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่ได้รับการสวนปัสสาวะคาไว้
เสริมสร้างความสุขบายให้กับผู้ป่วย
กำจัดสิ่งขับถ่าย สิ่งสกปรก และกลิ่นไม่พึงประสงค์
เครื่องใช้
เหมือนกับการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกชาย
การดูแลความสะอาดของผิวหนัง/การอาบน้ำ(Bathing)
การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงเฉพาะบางส่วน (Partial bath)
การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงชนิดสมบูรณ์ (Completebed bath)
การอาบน้ำที่ห้องน้ำ(Bathing in bath room/ Shower)
จุดประสงค์การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียง
กำจัดสิ่งสกปรก ที่สะสมบนผิวหนังและส่งเสริมความมั่นใจในตนเอง
ให้ผู้ป่วยรู้สึกสบาย สดชื่นและผ่อนคลาย
ประเมินการเคลื่อนไหวของร่างกายและส่งเสริมการออกกำลังกายของข้อต่างๆ
สังเกตความผิดปกติของผิวหนัง
กระตุ้นการไหลเวียนของโลหิตและป้องกันแผลกดทับ
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมสุขอนามัยส่วนบุคคลของผู้ป่วย
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
มีความทนในการทำกิจกรรมลดลงเนื่องจากเหนื่อยง่ายจากการเป็นโรค
การเคลื่อนไหวร่างกายบกพร่องงเนื่องจากเป็นอัมพาต
ไม่สนใจดูแลความสะอาดร่างกายด้วยตนเองเนื่องจากมีความเครียด
พร่องความสามารถในการดูแลความสะอาดร่างกาย
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
กำหนดวัตถุประสงค์ และเกณฑ์การประเมิน
เลือกกิจกรรมการดูแล เพื่อแก้ไขปัญหาให้ตรงตามข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล ซึ่งขึ้นอยู่กับปัญหาความต้องการของผู้ป่วย
การประเมินผู้ป่วย(Health assessment)
ประเมินความชอบ ความเชื่อและวัฒนธรรมของผู้ป่วย
ประเมินผิวหนัง ช่องปาก เส้นผมและหนังศรีษะ ตา หู จมูก
ประเมินระดับความสารถในการดูแลตนเอง
ประเมินปัญหาและความเสี่ยงของการรักษาและอาการผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการดูแล
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ปฏิบัติการดูแลความสะอาดร่างกาย การอาบน้ำ การนวดหลัง การทำความปากและฟัน เส้นผมและหนังศรีษะ และอวัยวะสืบพันธุ์
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ประเมินผลคุณภาพการบริการ
ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
การส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
ประเมินคุณภาพการนอนหลับและการนอนหลับที่ผิดปกติ
Insomniaเป็นความผิดปกติของการนอนหลับที่พบบ่อยที่สุด
การนอนหลับไม่เพียงพอระยะสั้น (Short term insomnia)
การนอนหลับไม่เพียงพอแบบเรื้อรัง (Chronic insomnia)
โรคทางจิตเวช
โรคทางอายุรกรรม
อาการข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ของยารักษาโรคบางชนิด
โรคของการนอนหลับโดยตรง
การนอนหลับไม่เพียงพอชั่วคราว (Transient insomnia)
Hypersomnia
เป็นการนอนหลับมาก หรือง่วงนอนมากกว่าปกติ
Parasomnia
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงจากหลับมาตื่น หรือจากตื่นมาหลับ
กลุ่มอาการที่เกิดขึ้นขณะหลับชนิดที่มีการกรอกตา
ความผิดปกติของการตื่น (around disorder)
กลุ่มอื่น ๆ
การนอนกัดฟัน (sleep bruxism)
การส่งเสริมการพักผ่อนและการนอนหลับ
การจัดสิ่งแวดล้อม
การจัดท่าทางส าหรับผู้ป่วย
การทำเตียง
ปัจจัยที่มีผลต่อการพักผ่อนและการนอนหลับ
ปัจจัยภายใน
ปัจจัยส่วนบุคคล
อายุ
เพศ
ความไม่สุขสบาย
ท่านอนที่ไม่เหมาะสม
อาการคลื่นไส้ อาเจียน มักพบหลังจากได้รับยาระงับรู้สึกทั่วร่างกาย (general anesthesia)
การใส่สายยางและท่อระบายต่างๆจากสายยางและท่อระบายต่างๆ
ภาวะไข้หลังผ่าตัด
ความเจ็บปวด
ความวิตกกังวล
ปัจจัยภายนอก
แสง
ความไม่คุ้นเคยต่อสถานที่สิ่งแวดล้อมของโรงพยาบาล
อุณหภูมิ
กิจกรรมการรักษาพยาบาล
เสียง
อาหาร
ยา
การทำเตียง
การทำเตียงผู้ป่วยลุกจากเตียงได้
จุดประสงค์
ให้ผู้ป่วยได้รับความสุขสบาย
ให้เตียงและสิ่งแวดล้อมสะอาด เรียบร้อย สวยงาม
เครื่องใช้
กระบอกฉีดน้ำผสมผงซักฟอก ถังน้ำสะอาด และผ้าเช็ดเตียง
ถังใส่ผ้าเปื้อน
เครื่องผ้า เหมือนการทำเตียงว่าง ยกเว้น ผ้าห่มและผ้าคลุมเตียง
ถุงมือสะอาด ผ้ากันเปื้อนพลาสติก และmask
เป็นการทำเตียงให้ผู้ปุวยที่สามารถลุกจากเตียงได้ ไม่จำเป็นต้องนอนอยู่บนเตียงตลอดเวลา อาจเป็นผู้ป่วยที่แข็งแรง ช่วยเหลือตนเองได้ดี หรือต้องพึ่งผู้อื่นในบางส่วน หรือสามารถนั่งได้เป็นเวลานาน
การทำเตียงผู้ป่วยลุกจากเตียงไม่ได้
จุดประสงค์
ให้ผู้ป่วยได้รับความสุขสบาย
ให้เตียงและสิ่งแวดล้อมสะอาด เรียบร้อย สวยงาม
เครื่องใช้
เครื่องผ้า เหมือนการทำเตียงว่าง ยกเว้น ผ้าห่มและผ้าคลุมเตียง
กระบอกฉีดน้ำผสมผงซักฟอก ถังน้ำสะอาด และผ้าเช็ดเตียง
ถังใส่ผ้าเปื้อน
เป็นการทำเตียงให้ผู้ป่วยที่ไม่สามารถลุกจากเตียงได้ จำเป็นต้องนอนอยู่บนเตียงตลอดเวลา ผู้ปุวยไม่รู้สึกตัว ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ หรือได้ต้องพึ่งผู้อื่นในการทำกิจกรรมจุดประสงค์และเครื่องใช้ เหมือนการทำเตียงผู้ป่วยลุกจากเตียงได้
การทำเตียงรับผู้ป่วยหลังผ่าตัดและผู้ป่วยที่ได้รับยาสลบ
จุดประสงค์
เตรียมรับผู้ป่วยหลังจากไปรับการผ่าตัด หรือการตรวจพิเศษ
เตรียมความพร้อมในการช่วยเหลือเมื่อผู้ปุวยสำลักหรือลิ้นตก และเมื่อผู้ป่วยอยู่ในภาวะอันตราย
เครื่องใช้
ชามรูปไต และกระดาษเช็ดปาก
เครื่องวัดความดันโลหิตพร้อมหูฟัง
เครื่องใช้อื่น ตามความจ าเป็น เช่น เสาน้ำเกลือ เครื่องดูดเสมหะ เครื่องดูดสารคัดหลั่ง
เครื่องผ้าเหมือนกับการทำเตียงว่าง
ถังบรรจุน้ำยาฆ่าเชื้อที่มีฤทธิ์ฟอกล้างและผ้าเช็ดเตียง
วงจรของการนอนหลับ
ช่วงหลับธรรมดา (Non-rapid eye movement sleep: NREM)
ระยะที่ 2 (หลับตื้น)
การหลับในช่วงต้น เป็นสภาพที่ไม่ได้ยินเสียงรบกวนจากภายนอก เป็นระยะแรกที่มีการหลับอย่างแท้จริง แต่ยังไม่มีการฝัน ระยะนี้จะถูกปลุกให้ตื่นได้โดยง่าย
ระยะที่ 3 (หลับปานกลาง)
ทั้งคลื่นสมองและชีพจรจะเต้นช้าลง ความมีสติรู้ตัวจะหายไป การเคลื่อนไหวของตาจะหยุดลง แม้ได้รับสิ่งเร้าจากภายนอกก็จะไม่ตื่นโดยง่าย ขั้นนี้จะใช้เวลาประมาณ 20 -30 นาที
ระยะที่ 1 (เริ่มมีความง่วง)
เป็นช่วงเริ่มหลับที่เปลี่ยนจากการตื่นไปสู่ การนอน ในคนทั่วไปใช้เวลาตั้งแต่ 30 วินาที -7 นาทีเป็นสภาพที่แม้จะได้รับการกระตุ้นเพียงเล็กน้อยก็จะตื่น
ระยะที่ 4 (หลับลึก)
เป็นช่วงหลับสนิทของการนอน ใช้เวลา 30 -50 นาที หากว่าร่างกายนอนหลับโดยปราศจากระยะที่ 4 นี้ อาจมีการนอนละเมอหรือฝันร้ายได้ ระยะนี้อุณหภูมิร่างกายและความดันโลหิตจะลดลง อัตราการเต้นของหัวใจลดลง 60 ครั้งต่อนาที growth hormone จะมีการหลั่งในระยะนี้
ช่วงหลับฝัน (Rapid eye movement sleep: REM)
เป็นช่วงที่กล้ามเนื้อต่าง ของร่างกายแทบจะหยุดการทำงานกันหมด แต่ระบบการทำงานของหัวใจ กระบังลมเพื่อการหายใจ กล้ามเนื้อตา และกล้ามเนื้อเรียบ เช่น หลอดเลือดและลำไส้ โดยในช่วงนี้ตาจะกลอกไปซ้ายขวาอย่างรวดเร็ว ร่างกายจะได้พักผ่อน แต่สมองจะยังตื่นตัวอยู่ ระยะนี้ช่วยจัดระบบความจำ ทำให้จำเรื่องบางเรื่องได้นานขึ้น
ความหมายและความสำคัญการพักผ่อนนอนหลับ
การพักกิจกรรมการทำงานของร่างกาย หรือการพักการทำงานของอวัยวะต่างๆโดยนั่งเฉยๆชั่วขณะหนึ่ง
ผ่อนคลายและมีความสงบทั้งจิตใจและร่างกายรวมถึงความไม่วิตกกังวล สงบหรือผ่อนคลายโดยไม่มีความเครียดทางอารมณ์
การพักผ่อนของผู้ป่วยในโรงพยาบาล
Absolute bed rest
เป็นการพักผ่อนโดยให้ผู้ปุวยนอนอยู่บนเตียง ไม่ให้ร่างกายออกแรงในกิจกรรมใดๆ ที่จะทำให้รู้สึกเหนื่อย ห้ามลุกออกจากเตียง
Bed rest
เป็นการพักผ่อนโดยให้ผู้ปุวยนอนอยู่บนเตียง สามารถทำกิจกรรมประจำวันได้ตามความสามารถของผู้ปุวย เช่น ไปห้องน้ำด้วยตนเอง
ผลกระทบจากปัญหาการนอนหลับ
ผลกระทบต่อจิตใจและอารมณ์
ผลกระทบต่อสติปัญญาและการรับรู้
ผลกระทบต่อร่างกาย
ผลกระทบทางสังคม