Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาต้านโรคมะเร็งและยากดภูมิคุ้มกัน - Coggle Diagram
ยาต้านโรคมะเร็งและยากดภูมิคุ้มกัน
ยาต้านโรคมะเร็ง
ประเภทยาตามการออกฤทธิ์ในวัฏจักรเซลล์มะเร็ง
2.CCNS
ยาที่ออกฤทธิ์ได้ทุกระยะในวงจรของเซลล์
ใช้ได้ผลดีในมะเร็งที่มีอัตราการโตของก้อนมะเร็งทั้งต่ำและสูง
1.CCS
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อเซลล์ในระยะใดระยะหนึ่ง
ยานี้ใช้ได้ผลดีในมะเร็งที่มีอัตราการแบ่งตัวอย่างรวดเร็ว
ระยะของการแบ่งตัวในวัฏจักรของเซลล์
Sเฟส
ระยะเซลล์สร้างและสังเคราะห์DNA
G2เฟส
ระยะเซลล์สร้างองค์ประกอบต่างๆเพื่อใช้ในการแบ่งDNAและแบ่งเป็น2เซลล์
G1เฟส
ระยะเซลล์เข้าสู่การแบ่งตัว
Mเฟส
ระยะที่โครโมโซมหนาตัวขึ้นและเซลล์มีการแบ่งตัวแบบไมโทซิส
G0เฟส
ระยะพักหลังจากที่เซลล์แบ่งตัวเสร็จสมบูรณ์
มะเร็ง
กลุ่มของโรคที่เกิดจากความผิดปกติของรหัสสารพันธุกรรม
1.ยากลุ่มAlkylating agents
1.1Cyclophosphamide
กลไกการออกฤทธิ์
ยาเข้าสู่ร่างกายจะถูกเปลี่ยนแปลงโดยCYP450กลายเป็นphosphoramidemustard
มีการเติมหมู่alkylที่เบส
กระตุ้นให้เกิดการตายของเซลล์มะเร็ง
การนำไปใช้รักษาในคลินิก
มีทั้งฉีดและรับประทานใช้รักษา
มะเร็งรังไข่
มะเร็งเต้านม
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
มะเร็งเม็ดเลือดขาว
ใช้เป็นยากดภูมิคุ้มกันในผู้ป่วยที่ปลูกถ่ายอวัยวะ
1.2Ifosfamide
กลไกการออกฤทธิ์
กลไกเหมือนCyclophosphamide
การนำไปใช้รักษาในคลินิก
มีทั้งฉีดและรับประทาน
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
มะเร็งอัณฑะ
มะเร็งของเนื้อเยื่ออ่อน
1.3Chlorambucil
การนำไปใช้รักษาในคลินิก
เป็นยามาตราฐานรักษา
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเรื้อรัง
มะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดfollicular
กลไกการออกฤทธิ์
เข้าไปเชื่อมกับDANแบบcrosslinking
ทำให้เซลล์มะเร็งไม่สามารถสร้างหรือแบ่งตัวได้เซลล์จึงตาย
1.4Carmustine
การนำไปใช้รักษาในคลินิก
รักษามะเร็งสมอง
กลไกการออกฤทธิ์
ทำให้เกิดอัคคิลไปจับกับสายของDNA
DNAทำให้เซลล์มะเร็งแบ่งตัวไม่ได้
1.5Dacarbazine
การนำไปใช้รักษาในคลินิก
ฉีดเข้าหลอดเลือดดำรักษา
มะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดHodgkin'slymphoma
มะเร็งผิวหนัง
กลไกการออกฤทธิ์
ยาเข้าสู่ร่างกายจะถูกเปลี่ยนแปลงโดยCYP450
กลายเป็นสารที่มีพิษต่อการสร้างDNAและRNAของเซลล์มะเร็ง
1.6Clsplatin
การนำไปใช้รักษาในคลินิก
ฉีดทางหลอดเลือดดำหรือทางช่องท้องรักษา
มะเร็งอัณฑะ
มะเร็งรังไข่
มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
มะเร็งปอด
มะเร็งทางเดินอาหาร
กลไกการออกฤทธิ์
แทรกไปเชื่อมจับของสายDNA
1.7Busulfan
การนำไปใช้รักษาในคลินิก
รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวบางชนิด
กลไกการออกฤทธิ์
แทรกไปเชื่อมจับของสายDNAแบบcrosslinking
1.8Mechlorethamide
การนำไปใช้รักษาในคลินิก
เดิมใช้รักษามะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดHodgkin'slymphoma
ปัจจุบันใช้น้อยลง
กลไกการออกฤทธิ์
แทรกไปเชื่อมจับของสายDNA
เกิดการแตกและยับยั้งDNAtranscription
อาการข้างเคียง
ทำให้เกิดการกดการทำงานของไขกระดูก
คลื่นไส้อาเจียน
มีแผลในปากฃความเป็นพิษต่อไต
เสี่ยงการเกิดพิษต่อหัวใจ
ผิวหนังมีสีคล้ำ
2.ยากลุ่มAntimetabolites
2.1Antifolate
2.1.1Methotrexate
กลไกการออกฤทธิ์
ยาต้านโฟเลต
ออกฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์DHFR
สร้างสารตั้งต้นDNA,RNAและโปรตีน
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
มีทั้งรับประทานและฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำกล้ามเนื้อน้ำไขสันหลัง
รักษามะเร็งหลายชนิด
2.1.2Pemetrexed
กลไกการออกฤทธิ์
ยาต้านโฟเลตตัวใหม่
ยาเข้าสู่ร่างกายจะถูกแมททาบอไลท์
มีฤทธิ์ยับยั้งการสังเคราะห์และสร้างสารตั้งต้น
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
รักษามะเร็งปอดมะเร็งตับอ่อน
2.2Purineanalogs
2.2.1ยา6-MP
กลไกการออกฤทธิ์
โครงสร้างคล้ายเบสเพียวรีน
เข้าสู๋กระแสเลือดจะถูกเปลี่ยนเป็นสารไรโบนิวคลีโอไทด์
ออกฤทธิ์ยับยั้งการสร้างเอนไซม์หลายตัวที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเพียวรีน
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
ยาเม็ดรับประทาน
รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดALLและAML
2.2.2ยา6-TG
กลไกการออกฤทธิ์
คล้ายกับ6-MP
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดANLLและAML
2.2.3Fludarabine
กลไกการออกฤทธิ์
ไปแทรกกระบวนการเชื่อมจับของสายDNA
ยับยั้งการสร้างDNA
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
ฉีดทางหลอดเลือดดำ
รักษาCLL
มะเร็งต่อมน้ำเหลืองที่ไม่รุนแรง
2.3Pyrimidineanalogs
2.3.2Capectibine
กลไกการออกฤทธิ์
คล้ายกับ5-FU
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
ยาเม็ดรับประทาน
ใช้บรรรเทาอาการมะเร็งเต้านมที่แพร่กระจายไปแล้ว
2.3.3Cytarabine
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการเชื่อมต่อของสายDNA
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
ฉีดทางหลอดเลือดดำ
รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดAML
2.3.1ยา5-FU
กลไกการออกฤทธิ์
-ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์thymidylatesynthase
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
ยาฉีดทางหลอดเลือดดำรักษา
มะเร็งเต้านม
มะเร็งทางเดินอาหาร
มะเร็งผิวหนังชนิดbasalcellcarcinoma
2.3.4Gemcitabine
กลไกการออกฤทธิ์
ยาเข้าสู่เซลล์จะถูกกระตุ้นให้มีการเติมหมู่ฟอตเฟต
แทรกการเชื่อมจับของสายDNA
ยับยั้งการสร้างDNA
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
ฉีดทางหลอดเลือดดำรักษา
มะเร็งตับอ่อนที่แพร่กระจายไปแล้ว
มะเร็งปอด
มะเร็งรังไข่
มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
มะเร็งกระเพาะอาหาร
มะเร็งที่ศีรษะและคอ
3.ยากลุ่มAnticancer antibiotics
3.2Doxorubicin
กลไกการออกฤทธิ์
มีหลายกลไก
การนำไปใช้รักษาในคลินิก
ฉีดทางหลอดเลือดดำรักษา
มะเร็งหลายชนิด
3.3Bleomycin
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์จับกับธาตุเหล็ก
ทำปฏิกิริยากับออกซิเจนได้อนุมูลอิสระ
การนำไปใช้รักษาในคลินิก
ฉีดทางหลอดเลือดดำกล้ามเนื้อชั้นใต้ผิวหนังรักษา
มะเร็งอัณฑะ
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
3.1Dactinomycin
กลไกการออกฤทธิ์
แทรกไปในสายDNAยับยั้ง RNApolymerase
การนำไปใช้รักษาในคลินิก
ฉีดทางหลอดเลือดดำรักษา
Wilms'tumor
มะเร็งของเนื้อเยื่อเกี่ยวพันในเด็ก
3.4Mitomycin
กลไกการออกฤทธิ์
ยาถูกเปลี่ยนแปลงในเซลล์ไปเป็นสารAlkylatingที่มีฤทธิ์รุนแรง
เกิดสะพานในสานDNA
ยับยั้งการังเคราะห์DNA
การนำไปใช้รักษาในคลินิก
รักษามะเร็งปากมดลูก
มะเร็งปอด
มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ
มะเร็งลำไส้ใหญ่
4.ยากลุ่มสารสกัดจากพืชธรรมชาติ
4.1ยากลุ่มvinca alkaloids
4.1.1Vincristine
การนำไปใช้รักษาในคลินิก
รักษา
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดacute
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
มะเร็งหลายชนิดในเด็ก
4.1.2Vinblastine
การนำไปใช้รักษาในคลินิก
ฉีดเข้าหลอดเลือดดำรักษา
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
มะเร็งลูกอัณฑะ
4.1.3Vinorelbine
การนำไปใช้รักษาในคลินิก
รักษา
non-small cell lung cancer
มะเร็งเต้านม
4.2ยากลุ่มtaxanes
การนำไปใช้รักษาในคลินิก
ฉีดเข้าหลอดเลือดดำรักษา
มะเร็งเต้านม
มะเร็งปอด
มะเร็งรังไข่
มะเร็งที่ศีรษะและคอ
มะเร็งต่อมลูกหมากแพร่กระจาย
อาการข้างเคียง
กดไขกระดูก
เกิดภาวะคั่งน้ำในร่างกาย
ผื่นลมพิษ
หายใจลำบาก
คลื่นไส้อาเจียน
อวัยวะส่วนปลายบวม
ปลายประสาทผิดปกติ
5.ยากลุ่มฮอร์โมน
5.3ยาออกฤทธิ์ต้านฮอร์โมน
การนำไปใช้รักษาในคลินิก
Goserelin,Leuprolide
รักษามะเร็งต่อมลูกหมาก
มะเร็งเต้านมระยะแพร่กระจาย
โรคเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดปกติ
อาการข้างเคียง
ร้อนวูบวาบ
เสื่อมสรรถภาพทางเพศ
ระยะแรกอาจทำให้มะเร็งเจริญมากขึ้น
5.4ยาฮอร์โมนโปรเจสติน
การนำไปใช้รักษาในคลินิก
รักษา
มะเร็งเยื่อบุมดลูก
มะเร็งเต้านม
มะเร็งของไต
อาการข้างเคียง
เกิดโรคหลอดเลือดหัวใจอุดตัน
5.2ยาฮอร์โมนเอสโตรเจน
การนำไปใช้รักษาในคลินิก
Tamoxifen
รักษามะเร็งเต้านม
Toremifene
มะเร็งเต้านม
Raloxifene
ป้องกันการเกิดมะเร็งกระดูกพรุน
อาการข้างเคียง
ร้อนวูบวาบ
คลื่นไส้อาเจียน
มีเลือดประจำเดือนผิดปกติ
เสี่ยงต่อการเกิดลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือด
5.1ยากลุ่มสเตียรอยด์
การนำไปใช้รักษาในคลินิก
รักษา
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดALL
อาการข้างเคียง
ติดเชื้อง่าย
กูลโคสในเลือดสูง
โรคกระดูกพรุน
โรคแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้
6.ยามะเร็งมุ่งเป้า
6.1ยาโมโนโคลนอลแอนติบอดี
6.1.2Rituximab
กลไกการออกฤทธิ์
ยาจับกับCD20
กระตุ้นให้เกิดการตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกัน
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
รักษามะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดB-cell
ผลข้างเคียง
ความดันเลือดต่ำ
หลอดลมบีบเกร็ง
กดไขกระดูก
6.1.3Cetuximab
กลไกการออกฤทธิ์
จับที่EGFRทำให้ไม่สามารถรับสัญญาณที่จะไปกระตุ้นการเจริญเติบโตของมะเร็ง
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
รักษามะเร็งที่ศีรษะและคอ
มะเร็งลำไส้ส่วนล่าง
ผลข้างเคียง
ระยะแรก
ความดันเลือดต่ำ
หายใจลำบาก
6.1.1Trastuzumab
กลไกการออกฤทธิ์
ยาจับกับHER-2
HER-2ไม่สามารถส่งสัญญาณไปกระตุ้นการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งได้
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
รักษามะเร็งเต้านมที่แพร่กระจายไปแล้ว
ผลข้างเคียง
เกิดภาวะหัวใจล้มเหลวคั่ง
คลื่นไส้อาเจียน
ปวดท้อง
6.1.4Alemtuzumab
กลไกการออกฤทธิ์
จับกับCD52
กระตุ้นให้เกิดการตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกัน
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดB CLL
ผลข้างเคียง
ความดันเลือดต่ำ
หลอดลมบีบเกร็ง
กดไขกระดูก
6.2ยาโมเลกุลขนาดเล็ก
6.2.2Dasatinib
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
รักษา
มะเร็งเม็ดเลือดขาว
มะเร็งที่ดื้อยา
6.2.3Nilotinib
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
รักษา
chronic myeloid leukemia
มะเร็งที่ดื้อยา
6.2.1Imatinib
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
รักษา
gastrointestinal stomal tumor
มะเร็งเม็ดเลือดขาว
7.ยากลุ่มอื่นๆ
7.1Asparaginase
กลไกการออกฤทธิ์
เร่งปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
รักษาALLในเด็ก
ผลข้างเคียง
แพ้รุนแรง
เสียชีวิตได้
ตับอ่อนอักเสบ
พิษต่อตับ
ชัก
โคม่า
7.2Mitotane
กลไกการออกฤทธิ์
รบกวนการทำงานของโมโตครอนเดรียในเซลล์ต่อมลูกหมวกไตชั้นนอก
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
รักษามะเร็งต่อมหมวกไตชั้นนอก
ผลข้างเคียง
ซึมเศร้า
มึนศีรษะ
มีผื่น
รบกวนทางเดินอาหาร
ยากดภูมิคุ้มกัน
1.กลุ่มออกฤทธิ์ยับยั้งเอนไซมม์แคลซินิวริน
1.1CsA
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งเอนไซม์calcineurin
ผลข้างเคียง
พิษต่อไต
พิษต่อระบบประสาท
ทำให้ความดันโลหิตสูง
ไขมันเลือดสูง
กดไขกระดูกเพียงเล็กน้อย
การนำไปใช้รักษาในคลินิก
ป้องกันและรักษาการปฏิสนธิการปลูกถ่ายอวัยวะแบบเฉียบพลัน
รักษาโรคภูมิคุ้มกันต้านตัวเองหลายชนิด
1.2FK506
การนำไปใช้รักษาในคลินิก
รักษาผู้ป่วยที่ปลูกถ่ายอวัยวะ
ผลข้างเคียง
คล้ายกับcyclosporinแต่ยาไม่ทำให้เหงือหนาและขนดก
ยามีพิษต่อระบบประสาท
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์เหมือนกับcyclosporin
2.กลุ่มยาที่มีพิษต่อเซลล์
2.2MMF
กลไกการออกฤทธิ์
ยาเข้าสู่ร่างกายจะเปลี่ยนเป็นMPA
มีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์พิวรีน
ยับยั้งการสร้างDNA,RNAและโปรตีน
การนำไปใช้รักษาในคลินิก
ป้องกันและรักษาacotegraftrejection
ผลข้างเคียง
พิษต่อตา
ตับอ่อนอักเสบ
ท้องร่วง
อาเจียน
2.3Sirolimus
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการทำงานของmTOR
ยับยั้งการเจริญและแบ่งตัวของT-cell
การนำไปใช้รักษาในคลินิก
ป้องกันการเกิดacotegraftrejection
ผลข้างเคียง
กดไขกระดูก
ภาวะโพแทสเซียมต่ำในเลือด
2.1Azathioprine
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการสร้างDNA,RNAและโปรตีน
การนำไปใช้รักษาในคลินิก
ป้องกันacotegraftrejection
รักษาโรคภูมิคุ้มกันต้านตัวเองหลายชนิด
ผลข้างเคียง
กดไขกระดูก
คลื่นไส้อาเจียน
ตัวเหลือง
ตาเหลือง
ผมร่วง
กล้ามเนื้ออ่อน
2.4Leflunomide
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการสังเคราะห์pyrimidine
มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ
ต้านการเจริญเติบโตของเซลล์
การนำไปใช้รักษาในคลินิก
รักษาโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์
ผลข้างเคียง
พิษต่อตับ
กดไขกระดูก
3.กลุ่มอดรีโนคอร์ติคอยด์
กลไกการออกฤทธิ์ของยากลุ่มอดรีโนคอร์ติคอยด์
ควบคุมการทำงานของยีนส์โดยจับกับตัวรับสเตอรอยด์
ออกฤทธิ์ที่นิวเคลียสยับยั้งการสร้างmRNA
การนำไปใช้รักษาในคลินิก
กดอาการแสดงของโรคภูมิคุ้มกัน
รักษาภาวะผู้รับปฏิเสธเซลล์ของผู้ให้
ผลข้างเคียง
น้ำหนักตัวเพิ่ม
หน้ากลมคล้ายรูปพระจันทร์
ติดเชื้อง่าย
เยื่อบุกระเพาะบางลง
ระดับน้ำตาลในเลือดสูง
ความดันโลหิตสูง
ภาวะโพแทสเซียสในเลือดต่ำ
4.กลุ่มสารยับยั้ง
4.1Anti-IL-2
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการกระตุ้นลิมโฟไซต์ด้วยIL-2
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
ใช้ในผู้ป่วยปลูกถ่ายไต
ผลข้างเคียง
แพ้ยา
4.2Anti-CD2
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์จับกับCD2
ผลข้างเคียง
ไข้
หนาวสั่น
ปวดกล้ามเนื้อ
ติดเชื้อง่าย
ห้ามใช้กับผู้ป่วยHIV
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
รักษาผู้ป่วยโรคสะเก็ดเงิน
4.3Anti-TNF-αantibody
กลไกการออกฤทธิ์
จับกับTNF-α
ผลข้างเคียง
กดไขกระดูก
บริเวณฉีดยาเกิดผื่นแดงคันปวดบวม
ปวดศีรษะ
คลื่นไส้อาเจียน
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
รักษาโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์
4.4Anti-lgEmAbs
กลไกการออกฤทธิ์
ปิดกั้นการจับของLgEกับตัวรับFC
ผลข้างเคียง
เสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสเพิ่มขึ้น
ปวดศีรษะ
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
รักษาโรคหอบหืด
4.5ATG
กลไกการออกฤทธิ์
จับกับโมเลกุลบนพื้นผิวT-cell
ผลข้างเคียง
ไข้
หนาวสั่น
ภาวะเม็ดเลือดขาวต่ำ
เกล็ดเลือดต่ำ
ตุ่มตามผิวหนังและปวดข้อ
การนำไปใช้รักษาทางคลินิก
รักษาภาวะปฏิเสธการปลูกถ่ายไตแบบเฉียบพลัน