Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาอิสลาม - Coggle Diagram
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาอิสลาม
ต้นกําเนิดที่ประเทศซาอุดิอาราเบีย
มีผู้นับถือมากเป็นอับสองรองจาก ศาสนาคริสต์
ศาสนาอิสลาม คือ นบีมูฮัมหมัด
พระคัมภีร์ของศาสนาอิสลาม คือ อัลกุรอาน
ผู้นับถือศาสนาอิสลาม คือ มุสลิม เป็นภาษาอาหรับ แปลว่า ผู้ที่นอบน้อม ยอมจํานนนต่อข้อบัญญัติ
พระอัลลอฮ์
ศาสนสถานของชาวมุสลิมคือ มัสยิด หรือ สุเหร่า เป็นที่ปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนา เป็นโรงเรียน เป็นที่พบปะชุมนุม ทําบุญ เลี้ยงฉลอง จัดพิธีมงคลสมรส สถานที่พักพิงของผู้ไร้ที่พํานัก
สัญญลักษณ์ของศาสนาอิสลาม รูปพระจันทร์ครึ่งเสียวและดาวอยู่ข้างบน
ดาว คือเครื่องหมายนําทาง
เดือนครึ่งเสี้ยว คือเครื่องหมายของกาลเวลา
เดือน คือ การกําหนดเวลาเริ่มต้นของ เดือนใหม่และสิ้นสุดเดือนเก่า เดือนคือเวลาที่ผ่านไปที่มนุษย์ต้อง ใคร่ครวญถึงการกระทําของตนเอง สัญลักษณ์รูปเดือนครึ่งเสียว สําคัญที่สุด จะเป็นศิริมงคลที่สุดของมุสลิมคือในเดือนรอมฎอน
ที่ต้องอาศัยการดูดวงจันทร์เพื่อเข้าสู่เดือนแห่งการถือศีลอด
คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย
เป็นคณะผู้บริหารกิจการศาสนาอิสลามในประเทศไทย
ตามพระราชบัญญัติการบริหารองค์กรศาสนาอิสลาม
ประกอบด้วยจุฬาราชมนตรีเป็นประธานกรรมการ และกรรมการ
นิกายต่างๆ
นิกายซุนนี (Sunni) มีผู้นับถือ 75-90%
ซุนนี แปลว่า มรรคา หรือจารีต
เป็นพวกออร์ธอดอกซ์ของอิสลาม
พวกซุนนี้ถือว่าภายหลังจากที่นบีมุฮัมมัดเสียชีวิตแล้ว และได้มีกา
หลิบที่สืบต่อมาอีกเพียง 4 คนเท่านั้น ต่อจากนั้นก็ไม่มีกาหลิบ สืบต่อ มีแต่ผู้นับถือศาสนาอิสลามธรรมดา
นิกายนี้ใช้หมวกสีขาวเป็นสัญลักษณ์และเป็นนิกายที่มีผู้นับถือ
มากที่สุดประมาณ 700 ล้านคน ถือว่าเป็นนิกายดั้งเดิม
ส่วนมากมีอยู่ในประเทศสาธารณรัฐตุรกี ซาอุดิอาระเบีย แอฟริกา และชาวมุสลิมส่วนใหญ่ในอินโดนีเซีย มาเลเซีย และ ประเทศไทย
นิกายชีอะฮ์ หรือชิเอฮ์ (Shiah) มีผู้นับถือ 10-
20%
ชีอะฮ์ หรือชิเอฮ์ แปลว่า ผู้ปฏิบัติตาม หรือสาวก
พวกชีอะฮ์ถือว่าต่อจากกา
หลิบอะลีมาแล้ว เชื้อสายของอาลีควรจะได้รับการ แต่งตั้งหรือทําการเลือกตั้งให้เป็นหัวหน้าทางศาสนา
อิหม่าม หมายถึง หัวหน้าสุเหร่าหรือมัสยิด ซึ่งเป็นผู้สืบต่อศาสนาจากนบีมุฮัมมัด อิหม่ามเป็นผู้หมดมลทินจากบาป และ เป็นสื่อกลาง การติดต่อระหว่างมนุษย์กับพระเจ้า
นิกายชีอะฮ์มีผู้นับถือมากที่สุดในประเทศอิหร่าน อิรัก
หลักการอันเป็นข้อบังคับ สําหรับมุสลิมทุกคน จะต้องรู้ จะต้องประพฤติ เริ่มตั้งแต่อายุ 3 ขวบเป็นต้นไป
หลักศรัทธา ความเชื่อในศาสนา
หลักปฏิบัติหน้าที่ในศาสนา (อิบาดะห์)
หลักคุณธรรม (อิห์ซาน)
ทุกคนต้องเรียนรู้หลักการของศาสนา
อิสลาม ไม่มีขอยกเว้นเป็นหน้าที่จึง ปฏิบัติ
หลักศรัทธาของศาสนาอิสลาม
1.ศรัทธาในพระเจ้าเป็นฐาน ต้องเชื่อมั่นและศรัทธาในพระเจ้า คือ พระอัลลอฮ์ อย่างไม่ มีข้อสงสัย พระเจ้าทรงเป็นผู้อยู่ก่อนสรรพสิ่งทั้งปวง ทรงเป็นผู้สร้างทุกสิ่งในเอกภพ พระเจ้าสร้างอดัม (อิสลามเรียกท่านนบีอาดัม)
ศรัทธาในมลาอิกะฮ์ คือ บ่าวผู้สัตย์ซื่อของพระอัลลอฮ์ ไม่มีรูปกาย ไม่มีเพศ ไม่มีการ ดําเนินชีวิตเหมือนมนุษย์ เป็นสื่อกลางระหว่างพระอัลลอฮ์กับมนุษย์
ศรัทธาในบรรดาศาสนทูต หรือ ศาสดาซึ่งมี 258 ท่านที่ระบุไว้ในพระคัมภีร์ อัลกุรอาน
ศรัทธาในพระคัมภีร์อัลกุรอาน และมีคัมภีร์อื่นๆ เช่น นบีดาวูด(ดาวิด) นบีมูซา (โมเสส) นบีอีซา (เยซู)
ศรัทธาในวันกียามะฮ์ หรือ วันปรโลก วันคืนชีพ หลังจากวันสิ้นโลก มนุษย์ทุกคนรอ วันตัดสินชําระความ
ศรัทธาในการลิขิตขององค์พระผู้เป็นเจ้า
หลักปฏิบัติหน้าที่ในศาสนาหลักศรัทธาของศาสนาอิสลาม
เรียกว่า อิบาดะห์
การปฏิญาณตนเข้ารับนับถือศาสนา
อิสลาม
การละหมาด หรือ สวด (นมาซ หรือ - นมัสการ) 5เวลาต่อวัน
การถือศีลอด
การบริจาคศาสนทานซะกาต
การประกอบพิธีฮัจญ์
ผู้เป็นมุสลิมจะต้องทําละหมาดวันละ 5 เวลา
1) เวลาย่ำรุ่ง
2) เวลากลางวัน
3) เวลาเย็น
4) เวลาพลบค่ำ
5) เวลากลางคืน
การถือศีลอด
ฝึกฝนให้ตัวเองมีจิตผูกพัน
การอดอาหารในช่วงเวลาที่ถูกกําหนดไว้อย่าง
ตายตัวนั้น
เป็นการเพิ่มพูนภูมิต้านทานแก่ร่างกาย ทําให้ ร่างกายเคยชินกับความหิว และการรับประทาน
อาหารตรงตามเวลาใน 24 ชั่วโมง
ผู้ถือศีลอดจะรับประทานอาหารสองมือ คือ มือตอน
ดึกถึงก่อนฟ้ารุ่งสาง และมื้อค่ําตอนเมื่ออาทิตย์ลับ ขอบฟ้า
การถือศีลอดทําให้เกิดการประหยัดทั้งอาหารของ โลก และสิ่งฟุ่มเฟือยสิ่งต่างๆ
หลักคุณธรรม (อิห์ซาน)
เป็นหลักเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม และ วัฒนธรรมที่มุสลิมทุกคนจะต้องยึดถือปฏิบัติ อย่างเคร่งครัดในการดําเนินวิถีชีวิต
ฮาลาล Halal คือ การกระทําที่อนุญาต "ฮารอม Harom คือ การกระทําที่ต้องห้าม การแต่งกาย การปกปิดส่วนควรสงวนของ ร่างกาย โดยแยกออกเป็นเพศได้ดังนี้
เพศชาย ให้ปิดระหว่างสะดือกับหัวเข่า
เพศหญิง ให้ปิดทั้งร่าง ยกเว้นใบหน้าและฝ่ามือ
การสวม ฮิญาบ รูปแบบนั้นไม่ได้บังคับว่าจะต้องตามรูปแบบของ
อาหรับ หรือของประเทศใด จะเป็นรูปแบบใดก็ได้
พิธีสุหนัต
เด็กชายมุสลิมอายุระหว่าง 2-10 ขวบ
การตัดหนังหุ้มปลายองคชาติซึ่งถือว่า เป็นหน้าที่
และเป็นสิ่งควรสรรเสริญ ทั้งเป็นธรรมเนียมเบื้องต้น เพื่อประโยชน์สําหรับการแต่งงาน
ปัจจุบันนี้ เมื่อไปคลอดที่โรงพยาบาลอาจจะให้
แพทย์ที่ทําคลอดทารกเพศชาย ตัดหนังหุ้มปลา ยองคชาตของทารกนั้น เป็นการทําพิธีสุหนัตด้วย เลยก็ได้
พิธีถือศีลอด
เป็นพิธีกรรมอย่างหนึ่งที่ชาวมุสลิมปฏิบัติ
ในเดือนรอมฎอน ตลอด 1 เดือน
• เป็นการอดอาหารการดื่มกินและเว้นการ ร่วมประเวณี และการทําชั่วต่างๆ อย่าง เคร่งครัดเป็นพิเศษในช่วงถือศีลอด
• มุสลิมทุกคนควรจะได้ถือปฏิบัติกันโดย เคร่งครัด (ยกเว้นผู้ป่วย / มีประจําเดือน / สตรีมีครรภ์)
1) งดการกินและการดื่ม 2) งดการมีเพศสัมพันธ์ 3) งดการใช้วัตถุภายนอกเข้า ไปในอวัยวะภายใน 4) งดการแสดงอารมณ์ร้าย และความผิดต่างๆ
ยกเว้นสําหรับบุคคลบางประเภทต่อไปนี้
1) คนชรา 2) คนป่วยหรือสุขภาพไม่ดี 3) หญิงที่มีครรภ์ที่เกรงว่าจะเป็น อันตรายแก่บุตร 4) บุคคลที่ทํางานหนัก เช่น กรรมกร แบกหาม 5) บุคคลที่อยู่ในระหว่างเดินทาง 6) หญิงขณะมีรอบเดือนและหลัง
การบริจาคศาสนทาน “ซะกาต”
การจ่ายภาษีทางศาสนาแก่คนยากจน
เพื่อผดุงสังคมลดปัญหาช่องว่างระหว่างคนรวยและคนจน
ผู้ขัดสน คนยากจน แม่
หม้าย เด็กพร้า) คนเข็ญใจ (พิการ) ผู้เข้าอิสลามและถูกญาติ มิตรตัดขาด ผู้มีหนี้สินล้นตัว (ไม่ใช่มีหนี้เพราะประพฤติมิ ชอบ) ผู้พลัดถิ่น (ไม่สามารถกลับสู่ภูมิลําเนาเดิม) ทาสหรือ เชลยเจ้าหน้าที่ดูแลกองทุนซะกาต และเพื่อประโยชน์ต่อ สังคมในวิถีของพระอัลลอฮ์
วัตถุประสงค์ของการบริจาคซะกาต
1) เพื่อชําระจิตใจของผู้บริจาคให้บริสุทธิ์ไม่ ตกเป็นทาสแห่งวัตถุด้วยความโลภ และเห็น แก่ตัว
2) เพื่อปลูกฝังให้มุสลิมทั้งหลายเป็นผู้มี จิตใจเมตตา กรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ซึ่งกัน และกัน
3) เพื่อลดช่องว่างระหว่างชนชั้นในสังคม ด้วยวิธีการสังคมสงเคราะห์
พิธีฮัจญ์
สําหรับ ชาวมุสลิมผู้มีฐานะดี
มีสุขภาพดี
บรรลุศาสนภาพ โดยผู้ที่ควรไปเข้าร่วมปฏิบัติ
ในพิธีฮัจญ์ ได้แก่ ผู้ชายอายุ 15 ปี และผู้หญิง 19 ปี
แนวคิดสําคัญ: ความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพโดยทั่วไป
ห้ามทําแท้ง การทําแท้งจะทําได้ในกรณีจําเป็นที่ต้องรักษา
ชีวิตของแม่
การขลิบอวัยวะเพศชายเป็นเรื่องที่แนะนําให้ปฏิบัติ • การช่วยให้ฆ่าตัวตายหรือการนฆาตเป็นเรื่องต้องห้าม
การช่วยผู้ป่วยระยะสุดท้ายในการใส่เครื่องช่วยหายใจโดย
ผู้ป่วยมีภาวะเป็นผักเป็นเรื่องที่ไม่สนับสนุนให้ทํา
การผ่าศพชันสูตรเป็นสิ่งที่ต้องห้าม...ยกเว้นเป็นข้อบังคับ
ทางกฎหมาย
หลังคลอดจะมีการขอรกเอาไปฝังต้องแจ้งให้ทราบ
หากมีข้อจํากัดไม่สามารถให้นํารกไปได้
การให้บริการทางการแพทย์และพยาบาล
จํากัดการสบตาไม่จ้องผู้ป่วยมากเกินไป
ตรวจควรมีเสื้อคลุมที่ยาวสามารถปกผิดร่างกายได้ทั่ว หากไม่
สามารถจัดหาให้ได้ควรจะอนุญาตให้ใส่เสื้อผ้าของตนเองได้ • มุสลิมไม่ได้ห้ามการได้รับบริการสุขภาพจากเพศตรงข้าม
ให้บริการควรเป็นเพศเดียวกับผู้ป่วย • ถ้ามีความจําเป็นต้องให้บริการจากผู้รักษาเพศตรงข้าม เช่น
แพทย์เป็นผู้ชายควรให้สามีของผู้ป่วยเข้าไปด้วย หรือ เป็นผู้หญิงที่ผู้ป่วยอนุญาตให้เข้าไปได้
การดูแลทางจิตวิญญาณ
จัดสถานที่ละหมาด
มีสถานที่ล้างเท้าก่อนทําพิธี หรือจัดทําอ่างน้ําสําหรับอาบเพื่อทําการ สวดทางศาสนา • การสวดมนต์จะทําวันละ 5 ครั้ง
ควรเอาสิ่งที่เป็นสัญลักษณ์ทางศาสนาอื่นออกจากห้องผู้ป่วย
การดูแลผู้ป่วยระสุดท้าย
ลดความเจ็บปวดและอาการไม่สบายต่างๆ
ยอมรับเรื่องการมีชีวิตและการตายตามบริบทของศาสนาและวัฒนธรรม
บูรณาการมิติทางสังคม จิตใจ และจิตวิญญาณ
ให้การสนับสนุนและช่วยเหลือญาติ
มีการทํางานเป็นทีมเพื่อการดูแลผู้ป่วยและญาติอย่างมีคุณภาพ
มุสลิมต้องยอมรับการเจ็บป่วย ว่าเป็นสิ่งที่พระอัลลอฮ์กําหนดมาให้และต้องแสวงหาวิธีการรักษา
ผู้ป่วยต้องอดทนต่อการเจ็บป่วย การเจ็บป่วยย่อมได้รับการลดบาปและได้กุศล
การจัดการศพตามวิถีอิสลาม
ให้นําศพมาอาบน้ําชําระสิ่งสกปรกที่ติดอยู่รีดท้อง เพื่อให้สิ่งปรก
นําศพมาวางบนผ้าขาวซึ่งปูไว้ ๓ ชั้น นํามือทั้งสองไว้ที่ระดับอกให้มือ ขวาทับบนมือซ้ายแล้วห่อด้วยขาว ๒ ชั้น
ฝังในหลุมลึก คะเนพอไม่ให้มีกลิ่นขึ้น หรือสัตว์ป่าคุ้ยเขี่ยขึ้นมาได้
ไม่นิยมนําพวง หรีดไปวาง
ห้รีบไปส่งผู้ตายหรือศพยังสุสาน และให้รีบละหมาด(บทสวด
สําหรับผู้เสียชีวิต/คนตาย)