Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาอิสลาม - Coggle Diagram
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
เกี่ยวกับศาสนาอิสลาม
ศาสดาของศาสนาอิสลาม คือ นบีมูฮัมหมัด
พระคัมภีร์ของศาสนาอิสลาม คือ อัลกุรอาน
“อิสลาม” แปลว่า การยอมจำนน การปฏิบัติตาม และการนอบน้อม (ต่อพระเจ้าคือ พระอัลลอฮ์)
ผู้นับถือศาสนาอิสลาม คือ มุสลิม เป็นภาษาอาหรับ แปลว่า ผู้ที่นอบน้อม ยอมจำนนนต่อข้อบัญญัติพระอัลลอฮ์
มีผู้นับถือมากเป็นอับสอง...รองจาก ศาสนาคริสต์
ศาสนสถานของชาวมุสลิมคือ มัสยิด หรือ สุเหร่า (แปลว่า สถานที่กราบ) เป็นที่ปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนา เป็นโรงเรียน เป็นที่พบปะชุมนุม ทำบุญ เลี้ยงฉลอง จัดพิธีมงคลสมรส สถานที่พักพิงของผู้ไร้ที่พำนัก
สัญลักษณ์ของศาสนาอิสลาม
เดือนครึ่งเสี้ยว คือเครื่องหมายของกาลเวลา
สองสิ่งนี้เป็นสิ่งเตือนใจและเป็นสิ่งสำคัญในการใช้ชีวิตของมนุษย์ชาติมุสลิมจึงให้ความสำคัญและนำมาเป็นสัญลักษ์ของอิสลาม
ดาว คือเครื่องหมายนำทาง บอกทิศเมื่อมนุษย์ต้องเดินทางกลางทะเล หรือทะเลทราย
คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย
ใช้อำนาจตามพระราชบัญญัติการบริหารองค์กรศาสนาอิสลาม พ.ศ. 2540 ซึ่งระบุให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่าคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย
ประกอบด้วยจุฬาราชมนตรีเป็นประธานกรรมการ และกรรมการ
เป็นคณะผู้บริหารกิจการศาสนาอิสลามในประเทศไทย
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งจากกรรมการอิสลามประจำจังหวัด
นิกาย
นิกายซุนนี (Sunni) มีผู้นับถือ 75-90%
นิกายนี้ใช้หมวกสีขาวเป็นสัญลักษณ์และเป็นนิกายที่มีผู้นับถือมากที่สุดประมาณ 700 ล้านคน ถือว่าเป็นนิกายดั้งเดิม
ส่วนมากมีอยู่ในประเทศสาธารณรัฐตุรกี ซาอุดิอาระเบีย แอฟริกา และชาวมุสลิมส่วนใหญ่ในอินโดนีเซีย มาเลเซีย และประเทศไทย
เป็นพวกออร์ธอดอกซ์ของอิสลาม
ซุนนี แปลว่า มรรคา หรือจารีต
นิกายชีอะฮ์ หรือชิเอฮ์ (Shiah) มีผู้นับถือ 10-20%
ชีอะฮ์ หรือชิเอฮ์ แปลว่า ผู้ปฏิบัติตาม หรือสาวก
เชื่อกันว่าอิหม่าม หมายถึง หัวหน้าสุเหร่าหรือมัสยิด ซึ่งเป็นผู้สืบต่อศาสนาจากนบีมุฮัมมัด
หลักต่างๆ
หลักการอันเป็นข้อบังคับ สำหรับมุสลิมทุกคน
2.หลักปฏิบัติหน้าที่ในศาสนา (อิบาดะห์)
3.หลักคุณธรรม (อิห์ซาน)
1.หลักศรัทธา ความเชื่อในศาสนา
4.ทุกคนต้องเรียนรู้หลักการของศาสนาอิสลาม ไม่มีขอยกเว้นเป็นหน้าที่พึงปฏิบัติ
จะต้องรู้ จะต้องประพฤติ เริ่มตั้งแต่อายุ 3 ขวบเป็นต้นไป
หลักศรัทธาของศาสนาอิสลาม
ศรัทธาในบรรดาศาสนทูต
ศรัทธาในพระคัมภีร์อัลกุรอาน และมีคัมภีร์อื่นๆ
ศรัทธาในมลาอิกะฮ์
ศรัทธาในวันกียามะฮ์ หรือ วันปรโลก วันคืนชีพ หลังจากวันสิ้นโลก มนุษย์ทุกคนรอวันตัดสินชำระความ
1.ศรัทธาในพระเจ้าเป็นฐาน
ศรัทธาในการลิขิตขององค์พระผู้เป็นเจ้า
อิบาดะห์
หลักปฏิบัติหน้าที่ในศาสนาหลักศรัทธาของศาสนาอิสลาม
แบ่งได้เป็น 5 ประการ
การถือศีลอด
เป็นการเพิ่มพูนภูมิต้านทานแก่ร่างกาย
การถือศีลอดทำให้เกิดการประหยัดทั้งอาหารของโลก และสิ่งฟุ่มเฟือยสิ่งต่างๆ
ทำให้ร่างกายได้ละลายส่วนเกินของไขมันที่สะสมเอาไว้
เป็นการฝึกฝนให้ตัวเองมีจิตผูกพัน และยำเกรงต่อพระเจ้า
การบริจาคศาสนทานซะกาต
การละหมาด หรือ สวด (นมาซ หรือ นมัสการ) 5 เวลาต่อวัน
3) เวลาเย็น
4) เวลาพลบค่ำ
2) เวลากลางวัน
5) เวลากลางคืน
1) เวลาย่ำรุ่ง
การประกอบพิธีฮัจญ์
การปฏิญาณตนเข้ารับนับถือศาสนาอิสลาม
หลักคุณธรรม (อิห์ซาน
เป็นหลักเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมที่มุสลิมทุกคนจะต้องยึดถือปฏิบัติ
ฮาลาล Halal คือ การกระทำที่อนุญาต
ฮารอม Harom คือ การกระทำที่ต้องห้าม
การแต่งกาย
เพศชาย ให้ปิดระหว่างสะดือกับหัวเข่า
เพศหญิง ให้ปิดทั้งร่าง ยกเว้นใบหน้าและฝ่ามือ
พิธีสุหนัต
เด็กชายมุสลิมอายุระหว่าง 2-10 ขวบ
การตัดหนังหุ้มปลายองคชาติ
การบริจาคศาสนทาน “ซะกาต”
เพื่อผดุงสังคมลดปัญหาช่องว่างระหว่างคนรวยและคนจน
วัตถุประสงค์ของการบริจาคซะกาต
2) เพื่อปลูกฝังให้มุสลิมทั้งหลายเป็นผู้มีจิตใจเมตตา กรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ซึ่งกันและกัน
3) เพื่อลดช่องว่างระหว่างชนชั้นในสังคมด้วยวิธีการสังคมสงเคราะห์
1) เพื่อชำระจิตใจของผู้บริจาคให้บริสุทธิ์ไม่ตกเป็นทาสแห่งวัตถุด้วยความโลภ และเห็นแก่ตัว
การจ่ายภาษีทางศาสนาแก่คนยากจน
สิ่งที่พยาบาลควรรู้
การให้บริการทางการแพทย์และพยาบาล
มุสลิมไม่ได้ห้ามการได้รับบริการสุขภาพจากเพศตรงข้าม
ผู้ให้บริการควรเป็นเพศเดียวกับผู้ป่วย
ผู้หญิงมุสลิมจะใส่เสื้อผ้าที่มีการปกคลุมร่างกายหากต้องการตรวจควรมีเสื้อคลุมที่ยาวสามารถปกผิดร่างกายได้ทั่ว หากไม่สามารถจัดหาให้ได้ควรจะอนุญาตให้ใส่เสื้อผ้าของตนเองได้
ถ้ามีความจำเป็นต้องให้บริการจากผู้รักษาเพศตรงข้าม เช่น แพทย์เป็นผู้ชายควรให้สามีของผู้ป่วยเข้าไปด้วย หรือเป็นผู้หญิงที่ผู้ป่วยอนุญาตให้เข้าไปได้
จำกัดการสบตาไม่จ้องผู้ป่วยมากเกินไป
การดูแลเรื่องอาหาร
การอดอาหารจะทำปีละครั้งช่วงเดือนรอมฎอน ยกเว้นผู้ป่วยและหญิงตั้งครรภ์
มุสลิมจะล้างมือก่อนและหลังรับประทานอาหารควรมีการเตรียมสถานที่
การดูแลอาหารเป็นอาหาร ฮาลาล
มุสลิมจะใช้มือขวาในการจับอาหารและเครื่องดื่มในการประทาน หากผู้ดูแลสัมผัสอาหารควรใช้มือขวา
การดูแลทางจิตวิญญาณ
การสวดมนต์จะทำวันละ 5 ครั้ง
ผู้มีข้อจำกัดด้านสติปัญญา ผู้หญิงหลังคลอด และ ผู้หญิงที่มีประจำเดือนจะเป็นข้อยกเว้น การสวดมนต์จะหันหน้าไปทางเมืองเมกกะ (หรือหันหน้าไปทางทิศตะวันตก)
มีสถานที่ล้างเท้าก่อนทำพิธี หรือจัดทำอ่างน้ำสำหรับอาบเพื่อทำการสวดทางศาสนา
ควรเอาสิ่งที่เป็นสัญลักษณ์ทางศาสนาอื่นออกจากห้องผู้ป่วย
จัดสถานที่ละหมาด
การดูแลผู้ป่วยระสุดท้าย
เป็นการดูแลรักษาอย่างเต็มที่ด้วยความรัก ความเมตตา
เป้าหมายการดูแล
บูรณาการมิติทางสังคม จิตใจ และจิตวิญญาณ
ให้การสนับสนุนและช่วยเหลือญาติ
ยอมรับเรื่องการมีชีวิตและการตายตามบริบทของศาสนาและวัฒนธรรม
มีการทำงานเป็นทีมเพื่อการดูแลผู้ป่วยและญาติอย่างมีคุณภาพ
ลดความเจ็บปวดและอาการไม่สบายต่างๆ
การให้การดูแลในทุกด้านของผู้ป่วย ที่กำลังใจเจ็บป่วย
หลักในการปฏิบัติ
ผู้ป่วยต้องเอามือตนเองวางบนส่วนที่ตนเจ็บ แล้วให้การละหมาด หรือขอพรจากอัลลอฮ์
4 การขอพรจากพระอัลลอฮ์ พร้อมจับมือผู้ป่วยหรือสัมผัส ปลอบโยนให้ผู้ป่วยมีอายุที่ยืนยาวและลดความทุกข์จากการเจ็บป่วย
ผู้ป่วยต้องอดทนต่อการเจ็บป่วย การเจ็บป่วยย่อมได้รับการลดบาปและได้กุศล
การส่งเสริมกำลังใจ ตักเตือนให้เขาระลึกถึงความอดทน ทำให้เขารู้สึกอบอุ่น และเชื่อมั่นว่าจะหายป่วย
มุสลิมต้องยอมรับการเจ็บป่วย ว่าเป็นสิ่งที่พระอัลลอฮ์กำหนดมาให้และต้องแสวงหาวิธีการรักษา
6 ต้องไม่ตั้งข้อรังเกียจเดียดฉันท์ผู้ป่วยและไม่แสดงท่าทีรังเกียจ ญาติต้องมีการดูแลอย่างใกล้ชิด ไม่ทอดทิ้งผู้ป่วย ถ้าไม่ดูแลถือว่าเป็นการกระทำที่สังคมรังเกียจ
ข้อแนะนำในการไปเยี่ยมเคารพศพผู้นับถือศาสนาอิสลาม
กรณีศพอยู่ที่บ้าน
ผู้ไปเยี่ยมเคารพศพ ควรไปแสดงไว้อาลัยกับญาติที่มีชีวิตอยู่ เป็นการให้เกียรติแก่เจ้าภาพ
ทำความเคารพศพ โดยกล่าวคำไว้อาลัยได้ (ไม่นิยมนำพวงหรีดไปวาง)
นำศพมาวางบนผ้าข้าวซึ่งปูไว้ ๓ ชั้น หรือนำศพบรรจุในหีบศพ
มอบเงินซองให้เจ้าภาพ
นำศพมาอาบน้ำชำระสิ่งสกปรก รดน้ำให้สะอาดทั้งตัว
กรณีศพอยู่ที่มัสยิดหรือสุเหร่า
ผู้ร่วมพิธีจะรอเคารพศพก่อนพิธีละหมาด
ผู้ร่วมพิธีมุ่งไปแสดงความเสียใจกับญาติ
การอุทิศศพ เมื่อผู้ตายสั่งเสียมอบร่างกายศพ หรือบริจาคอวัยวะ
4) จุดประสงค์ต้องไม่ใช่เพื่อการค้า แสวงหากำไร แลกเปลี่ยนหรือเพื่อให้ได้มาซึ่งสิทธิพิเศษ
5) อวัยวะที่ผู้สั่งเสียได้แสดงเจตนาบริจาคนั้น ต้องไม่ใช่ส่วนที่ค้านกับหลักการและคำสอน
3) จุดประสงค์ในการถ่ายอวัยวะนั้นเพราะความจำเป็นทางการแพทย์
6) คาดการณ์ได้ว่าการผ่าตัดถ่ายอวัยวะจากผู้ตายที่ได้สั่งเสียไว้ไปสู่ผู้ที่ยังมีชีวิต จะต้องประสบผลค่อนข้างสูง
2) คำสั่งเสียบริจาคนั้นต้องเป็นลายลักษณ์อักษร
7) ดำเนินการตามคำสั่งเสียได้ก็เมื่อผู้สั่งเสียตายเท่านั้น
1) ผู้สั่งเสียต้องเป็นบุคคลที่มีคุณสมบัติครบ คือ บรรลุนิติภาวะมีสติสัมปชัญญะจริงจัง และยินยอมในการบริจาคอวัยวะ