Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสุขอนามัยเเละการพักผ่อนนอนหลับ - Coggle Diagram
การส่งเสริมสุขอนามัยเเละการพักผ่อนนอนหลับ
การส่งเสริมสุขภาพ
การส่งเสริมสุขอนามัย เป็นการส่งเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรงการคงไว้หรือรักษาไว้ซึ่งสุขภาพและการปูองกันโรคโดยการดูแลความสะอาดส่วนต่าง ของร่างกาย
ความสำคัญของการส่งเสริมสุขอนามัย
การทำความสะอาดร่างกายตนเองเป็นพฤติกรรมสุขภาพขั้นพื้นฐานที่ต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่ทุกวัน เพื่อสร้างความมั่นใจในการอยู่รวมกับสังคมได้อย่างมีความสุข
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขอนามัยส่วนบุคคล
อายุความแตกต่างของอายุจะมีความต้องการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน
เพศความแตกต่างของเพศจะมีความต้องการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน
ภาวะสุขภาพ เมื่อมีการเจ็บปุวยที่รุนแรงหรือเรื้อรัง หรือเจ็บปวดหรือมีการเจ็บปุวยทางสุขภาพจิต ทำให้ขาดความสนใจ
การศึกษา บุคคลที่มีการศึกษา สามารถดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลให้ดีขึ้นได้
เศรษฐกิจ บุคคลที่มีฐานะดี ย่อมมีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์บำรุงผิว ผม ปาก ฟัน และให้เวลากับดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลมากขึ้น
อาชีพบุคคลที่มีอาชีพเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพจะมีความรู้ ความเข้าใจและให้ความสำคัญของการดูแลสุขอนามัย
ถิ่นที่อยู่การดำเนินชีวิตภายใต้ถิ่นที่อยู่ที่แตกต่างกัน
ภาวะเจ็บปุวยในภาวะการเจ็บปุวย อาจส่งผลในการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลลดลง
สิ่งแวดล้อม อากาศร้อนทำให้คนเรามีเหงื่อไคลและกลิ่นตัวที่ต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่เรื่องสุขอนามัยเพิ่มมากขึ้น
ขนบธรรมเนียมประเพณีและความเชื่อ และวัฒนธรรมของแต่ละบุคคล จะเป็นผลต่อการดูแลตนเองเกี่ยวกับสุขอนามัยส่วนบุคคล
ความชอบเป็นเรื่องส่วนตัวของแต่ละบุคคลที่ได้รับการฝึกอบรมด้านการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลมาจากครอบครัวโรงเรียน และปลูกฝังจนเป็นอุปนิสัยในการดูแลตนเอง
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
การพยาบาลตอนเช้าตรู่หรือเช้ามืด เมื่อผู้ปุวยตื่นนอนแล้ว พยาบาลจะดูแลผู้ปุวย ช่วยเหลือเรื่องการขับถ่ายปัสสาวะ อุจจาระ การให้กระบอกปัสสาวะ หรือหม้อนอน การท าความสะอาดร่างกาย
การพยาบาลตอนเช้า การพยาบาลเพื่อดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลประจำวัน
การพยาบาลตอนบ่ายหรือตอนเย็น การดูแลท าความสะอาดปากและฟัน การล้างมือ ล้างหน้า หวีผม สระผมการให้บริการหม้อนอน หรือกระบอกปัสสาวะ
การพยาบาลตอนก่อนนอน การดูแลเรื่องการให้หม้อนอนหรือกระบอกปัสสาวะ การล้างมือ ล้างหน้าทำความสะอาดปากฟัน การนวดหลัง การจัดท่าให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนอย่างสุขสบาย
การพยาบาลเมื่อจำเป็นหรือเมื่อผู้ป่วยต้องการ พยาบาลให้การพยาบาลตามความต้องการของผู้ป่วยตลอด 24ชั่วโมง
การดูแลความสะอาดร่างกาย
การดูแลความสะอาดของผิวหนัง/การอาบน้ำ
การอาบน้ำที่ห้องน้ำ
การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงเฉพาะบางส่วน
การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงชนิดสมบูรณ์
จะเริ่มต้นด้วยการแปรงฟันทำความสะอาดช่องปาก ตามด้วยการเช็คหน้าเช็ดตาการเช็ดตัวทั่วร่างกาย การนวดหลัง การดูแลความสะอาดของอวัยวะสืบพันธุ์และการเปลี่ยนเสื้อผ้าและผ้าปูที่นอนปลอกหมอนให้ผู้ป่วย
การดูแลความสะอาดปากและฟัน
เป็นความสะอาดพื้นฐานทำให้ลมหายใจหอมสดชื่น ผู้ปุวยมีความมั่นใจในการสื่อสารด้วยวาจา และเมื่อสุขภาพของฟันแข็งแรง การเคี้ยวอาหารก็จะรับรู้ถึงความอร่อย ทำให้รับประทานอาหารได้มากขึ้น
การดูแลความสะอาดของเล็บ
ให้เล็บสะอาด และสุขสบายปูองกันการเกิดเล็บขบ
การดูแลความสะอาดของตา
เป็นการทำความสะอาดตา รวมทั้งการกระทำเพื่อแก้ปัญหาด้านอนามัยของตา
การดูแลทำความสะอาดของหู
การเช็ดทำความสะอาดช่องหูหลังอาบน้าควรใช้ไม้พันสำลีเช็ดทำความสะอาดในช่องหูทั้ง2 ข้ำ
การดูแลทำความสะอาดของจมูก
เป็นการทำความสะอาดรูจมูกและรักษาสุขภาพของเนื้อเยื่อจมูกโดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่คาสายไว้
การดูแลความสะอาดของเส้นผมและหนังศีรษะ
เป็นการทำความสะอาดเส้นผมและหนังศีรษะรวมทั้งการกระทำเพื่อแก้ปัญหาของเส้นผมและหนังศีรษะซึ่งในที่นี้หมายถึง การสระผมให้ผู้ป่วยบนเตียง(shampoo in bed)
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกของชายและหญิง
เป็นการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกและบริเวณใกล้เคียง เช่น ขาหนีบ ฝีเย็บ และบริเวณทวารหนัก
การส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
ความหมายของการพักผ่อนและการนอนหลับ
การพักกิจกรรมการทำงานของร่างกาย หรือการพักการทำงานของอวัยวะต่างโดยนั่งเฉย ชั่วขณะหนึ่งอาจทำกิจกรรมเบานันทนาการ เปลี่ยนอิริยาบท หรือชมวิว เพื่อให้อวัยวะได้ผ่อนคลายความตึงเครียด ลดความกังวล
Absolute bed rest เป็นการพักผ่อนโดยให้ผู้ป่วยนอนอยู่บนเตียง ไม่ให้ร่างกายออกแรงในกิจกรรมใด ที่จะทำให้รู้สึกเหนื่อย
Bed rest เป็นการพักผ่อนโดยให้ผู้ปุวยนอนอยู่บนเตียงสามารถทำกิจกรรมประจำวันได้ตามความสามารถของผู้ป่วย
การนอนหลับเป็นกระบวนการทางสรรีรวิทยาพื้นฐานที่สอดประสานกับจังหวะการทำงานของร่างกายด้านอื่น
ความสำคัญของการพักผ่อนและการนอนหลับ
ส่งเสริมการเจริญเติบโตซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
ซ่อมแซมและสร้างเนื้อเยื่อขึ้นใหม่
สงวนพลังงานพลังงานที่ใช้ของร่างกายและสมองจะลดลง
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และความจำ
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
ผลกระทบจากปัญหาการนอนหลับ
ผลกระทบต่อร่างกาย
อาการเมื่อย ล้าคลื่น ไส้อาเจียน ท้องผูก ปวดศีรษะ วิงเวียนเหมือนบ้านหมุน
ผลกระทบต่อจิตใจและอารมณ์
อาจมีอาการเซื่องซึมและหงุดหงิดโมโหง่ายเกิดความสับสน
ผลกระทบต่อสติปัญญาและการรับรู้
นอนหลับไม่เพียงพอทำให้การปฏิบัติกิจกรรมในช่วงกลางวันลดลงสมาธิไม่ดีและแก้ไขปัญหาได้ช้า
ผลกระทบทางสังคม
การมีปฏิสัมพันธ์ในครอบครัวและสังคมลดลงความมั่นใจในการทำงานลดลง
วงจรการนอนหลับ
ช่วงหลับธรรมดา
ระยะที่ 1 (เริ่มมีความง่วง)เป็นช่วงเริ่มหลับที่เปลี่ยนจากการตื่นไปสู่ การนอน ในคนทั่วไปใช้เวลาตั้งแต่ 30 วินาที -7 นาที
ระยะที่ 2 (หลับตื้น)การหลับในช่วงต้น เป็นสภาพที่ไม่ได้ยินเสียงรบกวนจากภายนอก
ระยะที่ 3 (หลับปานกลาง)ทั้งคลื่นสมองและชีพจรจะเต้นช้าลง ความมีสติรู้ตัวจะหายไป
ระยะที่ 4 (หลับลึก)เป็นช่วงหลับสนิทของการนอน ใช้เวลา 30 -50 นาที
ช่วงหลับฝัน
เป็นช่วงที่กล้ามเนื้อต่างๆของร่างกายแทบจะหยุดการทำงานกันหมด แต่ระบบการทำงานของหัวใจ กระบังลมเพื่อการหายใจ กล้ามเนื้อตา และกล้ามเนื้อเรียบ
ปัจจัยที่มีผลต่อการพักผ่อนและการนอนหลับ
ปัจจัยภายใน
อายุ เป็นปัจจัยพื้นฐานที่ทำให้แบบแผนการนอนหลับเปลี่ยนแปลง โดยมีผลต่อวงจรการนอนหลับ
เพศ โดยธรรมชาติแล้วเพศชายจะมีการเปลี่ยนแปลงแบบแผนการนอนหลับได้เร็วและมากกว่าเพศหญิง 10-20 ปี
ความเจ็บปวด
ความเจ็บปวด
การใส่สายยางและท่อระบายต่าง
ท่านอนที่ไม่เหมาะสม
อาการคลื่นไส้ ภาวะไข้ หลังผ่าตัด เเละความวิตกกังกล
ปัจจัยภายนอก
เสียง เช่นเสียงดังรบกวยการนอน
อุณหภูมิ อุณหภูมิที่ต่ำหรือสูงเกินไปจะทำให้ผู้ปุวยกระสับกระส่ายเพิ่มขึ้น และตื่นบ่อยขึ้น
แสงแสงเป็นปัจจัยที่รบกวนการนอนหลับ
ความไม่คุ้นเคยต่อสถานที่สิ่งแวดล้อมของโรงพยาบาล
กิจกรรมการรักษาพยาบาล กิจกรรมการรักษาพยาบาลที่ผู้ป่วยได้รับตามเวลา
อาหารการรับประทานอาหารที่มีสารทริพโทแฟ็น(tryptophan) ซึ่งมีอยู่ในนมจะส่งเสริมการนอนหลับ
ยายาที่รบกวนการนอนหลับ ได้แก่ ยาบาบิทูเรต
การประเมินคุณภาพการนอนหลับและ การนอนหลับที่ผิดปกติ
Insomnia
การนอนหลับไม่เพียงพอชั่วคราว เป็นการนอนหลับไม่เพียงพอเป็นช่วงเวลาสั้น 3-5 วัน
การนอนหลับไม่เพียงพอระยะสั้น เป็นการนอนหลับไม่เพียงพอเป็นระยะเวลาไม่เกิน 3 สัปดาห์
การนอนหลับไม่เพียงพอแบบเรื้อรัง (Chronic insomnia)เป็นการนอนหลับไม่เพียงพอเกิดขึ้นนานกว่า 1 เดือนขึ้นไป
Hypersomnia
เป็นการนอนหลับมาก หรือง่วงนอนมากกว่าปกติ ซึ่งจะแสดงออกในแง่การนอนหลับในที่ไม่ควรหลับ
Parasomnia
ความผิดปกติของการตื่น (around disorder)ได้แก่อาการสับสน (confusion arousals) ละเมอเดิน (sleepwalking)
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงจากหลับมาตื่น หรือจากตื่นมาหลับได้แก่ อาการขากระตุกขณะก าลังหลับ (hypnic jerks)
กลุ่มอาการที่เกิดขึ้นขณะหลับชนิดที่มีการกรอกตาได้แก่ ภาวะฝันร้าย (nightmares)
กลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ การนอนกัดฟัน (sleep bruxism)
การส่งเสริมการพักผ่อนการนอนหลับ
การจัดสิ่งแวดล้อม
ความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อย
วามพร้อมของอุปกรณ์เครื่องใช้
อุณหภูมิมีความเหมาะสมของอุณหภูมิระหว่าง 20-25 องศา
เสียงแหล่งกำเนิดเสียงจากภายนอกห้อง
กลิ่น ที่หอม
เเสงสว่าง ความเป็นส่วนตัว ความอบอุ่น
การจัดท่าทางสำหรับผู้ป่วย
Dorsal position (supine position) เป็นท่านอนหงายราบ
Fowler’s position เป็นท่านอนราบศีรษะสูง 30-90 องศา เป็นท่านอนที่สุขสบายและเพื่อการรักษา
Prone position เป็นท่านอนคว่ำ
Lateral position เป็นท่านอนตะแคง
Sitting position เป็นท่านั่งที่สุขสบายส าหรับผู้ป่วย
การทำเตียง
มี 4ชนิด
การทำเตียงว่าง (Close bed)
เป็นการทำเตียงที่ผู้ป่วยจำหน่ายออกจากหอผู้ป่วย เพื่อเตรียมรับผู้ปุวยใหม่ หรือทำเตียงที่ผู้ปุวยสามารถลงเดินช่วยเหลือตนเองได้
การทำเตียงผู้ปุวยลุกจากเตียงได้ (Open/unoccupied bed)
เป็นการทำเตียงให้ผู้ปุวยที่สามารถลุกจากเตียงได้ ไม่จำเป็นต้องนอนอยู่บนเตียงตลอดเวลา
การทำเตียงผู้ปุวยลุกจากเตียงไม่ได้ (Occupied bed)
เป็นการทำเตียงให้ผู้ปุวยที่ไม่สามารถลุกจากเตียงได้ จำเป็นต้องนอนอยู่บนเตียงตลอดเวลา
การทำเตียงรับผู้ป่วยหลังผ่าตัดและผู้ป่วยที่ได้รับยาสลบ
เป็นการทำเตียงหลังจากส่งผู้ปุวยไปรับการผ่าตัดหรือการตรวจและได้รับยาสลบ