Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสุขอนามัยและการ พักผ่อนนอนหลับ, image, image, image, image,…
การส่งเสริมสุขอนามัยและการ
พักผ่อนนอนหลับ
ความสาคัญของการพักผ่อนและการนอนหลับ
ส่งเสริมการเจริญเติบโต ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
ซ่อมแซมและสร้างเนื้อเยื่อขึ้นใหม่
สงวนพลังงาน
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และความจา
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
ผลกระทบจากปัญหาการนอนหลับ
ร่างกาย
สังคม
จิตใจอารมณ์
สติปัญญาและการรับรู้
ความหมายของการพักผ่อนและการนอนหลับ
การพักผ่อน
การผ่อนคลาย และมีความสงบทั้งจิตใจ และร่างกาย
ความไม่วิตกกังวล สงบหรือผ่อนคลายโดยไม่มีความเครียดทางอารมณ์
การนอนหลับ
เป็นกระบวนการทางสรรีรวิทยาพื้นฐานที่สอดประสานกับจังหวะ
การทางานของร่างกายด้านอื่นๆ
การพักผ่อนของผู้ป่วยในโรงพยาบาล
1.Absolute bed rest
2.Bed rest
สรีรวิทยาของการนอนหลับและวงจรของการนอนหลับ
การทางานของสมองส่วนMedulla,Ponsและสมองส่วนกลางMidbrain) รวมถึงก้านสมอง (Brainstem)
ระยะของการนอนหลับ (stages of sleep)
การนอนหลับชนิดไม่มีการเคลื่อนไหวของลูกตาอย่างรวดเร็ว(Non-rapid eye movenment : NREM)
การนอนหลับชนิดมีการเคลื่อนไหวลูกตาอย่างรวดเร็ว(Rapid eye movement : REM)
การนอนหลับชนิดไม่มีการเคลื่อนไหวของลูกตาอย่างรวดเร็ว
(Non-rapid eye movenment : NREM)
ระยะที่ 1
จะมีความถี่ของคลื่นไฟฟ้าสมองอย่างช้าๆ
ระยะที่ 3
เป็นการหลับลึกปานกลาง
ระยะที่ 2
การนอนยังเป็นแบบไม่ลึกหรือเป็นระยะที่เริ่มหลับ
ระยะที่ 4
เป็นการหลับลึกที่สุด
สำหรับระยะที่ 3 และระยะที่ 4คือ ช่วยในการฟื้นคืนสมรรถภาพต่าง ๆ ของร่างกายให้อยู่ในสภาพ
ปกติ มีการหลั่งฮอร์โมนช่วยการเจริญเติบโต (Growth Hormone
วงจรการนอนหลับ (sleep cycle)
สรีรวิทยาของการนอนหลับ
การผลิตความร้อนลดลง 10-15%
อุณหภูมิของร่างกายลดลง 0.5-1.0 องศาฟาเรนไฮต์
ความดันเลือดซิสโตลิค (Systolic) จะลดลง 20-30 mmHg
อัตราการเต้นของชีพจรจะลดลง 10-30 ครั้งต่อนาที
การหายใจจะลดลง หายใจลึกและอัตราไม่สม่าเสมอ
กล้ามเนื้อและเส้นเอ็นต่างๆ คลายตัว
ความเจ็บปวด การได้ยิน การสัมผัส กลิ่น และการมองเห็น
ลดลง ตากลอกขึ้นหรือเหมือนลืมตา รูม่านตาหดตัว
ปัจจัยที่มีผลต่อการพักผ่อนและการนอนหลับ
ปัจจัยภายในส่วนบุคคล
1.อายุ
.2 เพศ
ความไม่สุขสบาย
1.2.1 ความเจ็บปวด
1.2.2 การใส่สายยางและท่อระบายต่าง ๆ
1.2.3 ท่านอนที่ไม่เหมาะสม
1.2.4 อาการคลื่นไส้ อาเจียน
1.2.5 ภาวะไข้หลังผ่าตัด
3 ความวิตกกังวล
ปัจจัยภายนอก
2.1 เสียง
2.2 อุณหภูมิ
2.3 แสง
2.4 ความไม่คุ้นสถานที่
2.5 กิจกรรมพยาบาล
2.6 อาหาร
2.7 ยา
อินซอมเนีย (Insomnia) พบบ่อยที่สุด
การนอนหลับยาก การเข้านอนแล้วกว่าจะหลับใช้เวลานาน
1.2 การนอนหลับแบบหลับ ๆ ตื่น ๆ หรือตื่นบ่อย
การนอนตื่นเร็วเกินไปหรือตื่นง่าย ตื่นเร็วกว่าที่ควรจะเป็
การนอนหลับไม่เพียงพอแบบเรื้อรัง (Chronic insomnia)
การประเมินคุณภาพการนอนหลับ
ระยะเวลาตั้งแต่เข้านอนจนกระทั่งหลับ
1.2 ระยะเวลาการนอนหลับในแต่ละคืน
1.3 จานวนครั้งที่ถูกรบกวนขณะนอนหลับ
1.4 ประสิทธิภาพในการนอน
ใช้การประเมินความรู้สึกต่อการนอนหลับ
คาถามสาหรับการนอนหลับที่เพียงพอ หรือไม่
“หลับเพียงพอ”หรือ “หลับไม่เพียงพอ
ใช้แบบประเมินแบบแผนการนอนหลับ
เป็นแบบแผนที่ 5 ของแบบประเมินภาวะสุขภาพ 11 แบบแผน
Hypersomnia
การนอนหลับมากหรือง่วงมากกว่าปกติ
Parasomnia
ความผิดปกติของการตื่น (Around
disorder)
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงจากหลับมาตื่น/ จากตื่นมาหลับ
กลุ่มอาการที่เกิดขึ้นขณะหลับชนิดที่มีการกรอกตา
ภาวะฝันร้าย (Nightmares) ภาวะผีอา (Sleep paralysis)
กลุ่มอื่น ๆ
การนอนกัดฟัน (Sleep bruxism)
ผลที่เกิดจาการนอนหลับผิดปกติ
1.ผลจากการนอนไม่เพียงพอในการนอนชนิด NREM
ผลจากการนอนไม่เพียงพอในการนอนชนิด REM
ผลในภาพรวมจะทาให้การทางานของร่างกายขาดประสิทธิภาพ
การส่งเสริมการนอนหลับและ
ความปลอดภัยขณะนอนหลับ
การจัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม และมีความปลอดภัย
การจัดท่าทางสาหรับผู้ป่วยเพื่อความสุขสบาย
3.การส่งเสริมให้ผู้ป่วยผ่อนคลาย
สิ่งแวดล้อมที่ดี
ท่านอนหงายราบ (Dorsal position หรือ Supine position)
ท่านอนราบศีรษะสูง (Fowler’s position
ท่านอนคว่า (Prone position)
ท่านอนตะแคง (Lateral position)
การทำเตียงชนิดต่างๆ
กระบวนการพยาบาล
ในการส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
การประเมินภาวะสุขภาพ (Assessment)
2.การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
เกณฑ์การประเมินผล
การพยาบาล (Nursing/Implementation)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)