Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อาการปวดท้องน้อยด้านขวา 2 วัน - Coggle Diagram
อาการปวดท้องน้อยด้านขวา 2 วัน
Appendicitis(ไส้ติ่งอักเสบ)
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางทวารหนัก (rectal examination) พบกดเจ็บที่ ด้านขวาของ cul-de-sac แต่ไม่นิยมทำในเด็กเล็กเพราะแปลผลได้ลำบาก
การตรวจอื่นๆ อาจให้ผลบวกในการตรวจ เช่น Rovsing sign, Obturator sign ,Psoas sign
กดเจ็บเฉพาะที่ (local tenderness) มี guarding และ rebound tenderness
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
complete blood count พบว่า เม็ดเลือดขาวสูงกว่าปกติ
การตรวจปัสสาวะ มีเม็ดเลือดแดงในปัสสาวะ
สาเหตุ
กการอุดตันภายในไส้ติ่ง
การติดเชื้อที่ระบบทางเดินหายใจส่วนบน
ภาวะการอักเสบในไส้ติ่ง
งต่อมน้ าเหลืองในไส้ติ่งเกิดการปฏิกิริยาตอบสนองด้วยการ ขยายตัวขึ้นจนไปปิดกั้นไส้ติ่ง
การตรวจพิเศษ
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (ultrasonography)
การถ่ายภาพรังสีของช่องท้อง อาจพบเงาของ fecalith หรือ localized ileus ที่ RLQ
อาการและอาการแสดง
มักจะปวดรอบๆ สะดือ refer ไปที่ท้องน้อยด้านขวา (right lower quadrant-RLQ)
อาการอื่นๆ ที่พบร่วคือ คลื่นไส้ อาเจียน ไข้ เบื่ออาหาร ท้องเสีย
การรักษา
ไส้ติ่งอักเสบเฉียบพลัน ไม่แตกทะลุ ไม่จ าเป็นต้อง ให้ยาปฏิชีวนะทั้งก่อนและหลังผ่าตัด
ไม่สามารถแยกได้ว่าไส้ติ่งแตกทะลุชัดเจน นิยมให้ยาปฏิชีวนะ โดยเริ่มตั้งแต่ก่อนผ่าตัด
ผ่าตัดโดยด่วน หลังจากการเตรียมผู้ป่วยให้พร้อมและเหมาะสมต่อการให้ยาสลบและการผ่าตัด
ไส้ติ่งแตกทะลุระหว่างการผ่าตัด หรือไส้ติ่งไม่แตกทะลุ แต่รุนแรงถึงขั้น gangrenous appendicitis ให้ยาปฏิชีวนะระหว่างการผ่าตัด
มะเร็งลำไส้ใหญ่
ระยะของโรค
ระยะที่ 1 โรคมะเร็งยังอยู่ในเยื่อบุลำไส้
ระยะที่ 3 มะเร็งลุกลามเข้าต่อมน้ำเหลืองข้างเคียง
ระยะที่ 4 มะเร็งลุกลามเข้าต่อมน้ำเหลืองที่อยู่ไกลออกไป หรือลุกลามตามกระแสโลหิตไปยังอวัยวะที่อยู่ไกลออกไป
วิธีการรักษา
การตรวจวินิจฉัย
ซักประวัติและการตรวจร่างกาย
ผลการตรวจปัสสาวะทางห้องปฏิบัติการ
ถ่ายภาพเอกซเรย์ด้วยการสวนแป้งทางทวารหนัก
ส่องกล้องทางทวารหนักและการตัดชิ้นเนื้อไปตรวจ
การติดตามผล
อาการและอาการแสดง
มีเลือดสดๆ หรือเลือดแดงคล้ำปนออกมากับอุจจาระ
น้ำหนักลดลงโดยไม่ทราบสาเหตุ
พฤติกรรมในการขับถ่ายอุจจาระเปลี่ยนแปลงไปจากปกติ
อาจคลำก้อนได้ในท้อง
อาการท้องเสียสลับกับท้องผูก
อาจมีคลื่นไส้ อาเจียน อ่อนเพลีย หรือซีด
สาเหตุ
การสูบบุหรี่
การดื่มสุราหรือเบียร์
การควบคุมน้ำหนักที่ไม่เหมาะสมและขาดการออกกำลังกาย
การขาดสารอาหารบางชนิด
อาหาร
พันธุกรรม