Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดาเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาอิสลาม - Coggle Diagram
การดาเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามมีต้นกำเนิดที่ประเทศซาอุดิอาราเบีย
“อิสลาม” ” แปลว่า การยอมจำนน การปฏิบัติตาม และการนอบน้อม (ต่อพระเจ้าคือ พระอัลลอฮ์)
ศาสดาของศาสนาอิสลาม คือ นบีมูฮัมหมัด
พระคัมภีร์ของศาสนาอิสลาม คือ อัลกุรอาน
ผู้นับถือศาสนาอิสลาม คือ มุสลิม เป็นภาษาอาหรับ แปลว่า ผู้ที่นอบน้อม ยอมจานนนต่อข้อบัญญัติพระอัลลอฮ์
สัญญลักษณ์ของศาสนาอิสลาม
รูปพระจันทร์ครึ่งเสี้ยวและดาวอยู่ข้างบน
นิกายซุนนี (Sunni) มีผู้นับถือ 75-90% ซุนนี แปลว่า มรรคา หรือจารีต เป็นนิกายของศาสนาอิสลามที่นับถือคัมภีร์เล่มหนึ่งชื่อ ”ซุมนาเป็นคัมภีร์อรรถกถาของคัมภีร์อัลกุรอาน ผู้นับถือคัมภีร์นี้เป็นผู้ที่เคร่งครัด ต้องการให้คัมภีร์เดิมอ่านง่ายและเข้าใจง่ายขึ้นจึงไรด้แต่งอรรถกถาอธิบายความในคัมภีร์เดิม
นิกายชีอะฮ์หรือชิเอฮ์(Shiah Shiah) มีผู้นับถือ10 -20 % ชีอะฮ์ หรือชิเอฮ์ แปลว่า ผู้ปฏิบัติตาม หรือสาวก
หลักการอันเป็นข้อบังคับ สาหรับมุสลิมทุกคนจะต้องรู้ จะต้องประพฤติ เริ่มตั้งแต่อายุ 3 ขวบเป็นต้นไป
หลักศรัทธา ความเชื่อในศาสนา
หลักปฏิบัติหน้าที่ในศาสนา (อิบาดะห์)
หลักคุณธรรม (อิห์ซาน)
ทุกคนต้องเรียนรู้หลักการของศาสนาอิสลาม ไม่มีข้อยกเว้นเป็นหน้าที่พึงปฏิบัติ
หลักศรัทธาของศาสนาอิสลาม
1.ศรัทธาในพระเจ้าเป็นฐาน ต้องเชื่อมั่นและศรัทธาในพระเจ้า คือ พระอัลลอฮ์ อย่างไม่มีข้อสงสัย พระเจ้าทรงเป็นผู้อยู่ก่อน
ศรัทธาในมลาอิกะฮ์ คือ บ่าวผู้สัตย์ซื่อของพระอัลลอฮ์ ไม่มีรูปกาย ไม่มีเพศ ไม่มีการดาเนินชีวิตเหมือนมนุษย์
ศรัทธาในบรรดาศาสนทูต
ศรัทธาในพระคัมภีร์อัลกุรอาน
ศรัทธาในวันกียามะฮ์
ศรัทธาในการลิขิตขององค์พระผู้เป็นเจ้า
หลักปฏิบัติหน้าที่ในศาสนา เรียกว่า อิบาดะห์
การปฏิญาณตนเข้ารับนับถือศาสนาอิสลาม
การละหมาด หรือ สวด (นมาซ หรือ นมัสการ) 5เวลาต่อวัน
การถือศีลอด
การบริจาคศาสนทานซะกาต
5 การประกอบพิธีฮัจญ์
การละหมาด หรือ สวด (นมาซ หรือ นมัสการ)
ละหมาดวันละ 5 เวลา
1) เวลาย่ารุ่ง
2) เวลากลางวัน
3) เวลาเย็น
4) เวลาพลบค่า
5) เวลากลางคืน
การถือศีลอด
เป็นการฝึกฝนให้ตัวเองมีจิตผูกพัน และยาเกรงต่อพระเจ้าเพื่อการดำเนินชีวิตในทุกด้านตามคาบัญชาของพระองค์
เป็นการอดอาหารในช่วงเวลาที่ถูกกาหนดไรว้อย่างตายตัวนั้น จะทำให้ร่างกายได้ละลายส่วนเกินของไรขมันที่สะสมเอาไรว้
เป็นการเพิ่มพูนภูมิต้านทานแก่ร่างกาย ทาให้ร่างกายเคยชินกับความหิว และการรับประทานอาหารตรงตามเวลาใน 24 ชั่วโมง
หลักคุณธรรม (อิห์ซาน)
ฮาลาล Halal คือ การกระทำที่อนุญาต
ฮารอม Harom Harom คือ การกระทำที่ต้องห้าม
เป็นหลักเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมที่มุสลิมทุกคนจะต้องยึดถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัดในการดำเนินวิถีชีวิต
การแต่งกาย
เพศชาย ให้ปิดระหว่างสะดือกับหัวเข่า
เพศหญิง ให้ปิดทั้งร่าง ยกเว้นใบหน้าและฝ่ามือ
พิธีสุหนัต
การตัดหนังหุ้มปลายองคชาติซึ่งถือว่า เป็นหน้าที่และเป็นสิ่งควรสรรเสริญ ทั้งเป็นธรรมเนียมเบื้องต้นเพื่อประโยชน์สาหรับการแต่งงาน จะมีการเชิญญาติพี่น้องอย่างน้อย 2-3 คน มาร่วมเป็นสักขีพยาน จะมีการสวมพวงมาลัยให้เด็กก่อนแล้วจึงผ่าหรือตัดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ เสร็จแล้วให้ของขวัญแก่เด็ก
พิธีถือศีลอด
เป็นพิธีกรรมอย่างหนึ่งที่ชาวมุสลิมปฏิบัติในเดือนรอมฎอนตลอด 1เดือน
เป็นการอดอาหารการดื่มกินและเว้นการร่วมประเวณี และการทาชั่วต่างๆ อย่างเคร่งครัดเป็นพิเศษในช่วงถือศีลอด
มุสลิมทุกคนควรจะได้ถือปฏิบัติกันโดยเคร่งครัด (ยกเว้นผู้ป่วย / มีประจาเดือน / สตรีมีครรภ์)
การบริจาคซะกาต
วัตถุประสงค์
1) เพื่อชำระจิตใจของผู้บริจาคให้บริสุทธิ์ไม่ตกเป็นทาสแห่งวัตถุด้วยความโลภ และเห็นแก่ตัว
2) เพื่อปลูกฝังให้มุสลิมทั้งหลายเป็นผู้มีจิตใจเมตตา กรุณา เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ซึ่งกันและกัน
3) เพื่อลดช่องว่างระหว่างชนชั้นในสังคมด้วยวิธีการสังคมสงเคราะห์
พิธีฮัจญ์
สำหรับชาวมุสลิมผู้มีฐานะดีมีสุขภาพดีบรรลุศาสนภาพโดยผู้ที่ควรไปเข้าร่วมปฎิบัติในพิธีฮัจญ์ ได้แก่ ผู้ชายอายุ 15 ปี และผู้หญิง 19 ปี
ความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพโดยทั่วไป
แนวคิดสำคัญ
• ห้ามทาแท้ง การทาแท้งจะทาไรด้ในกรณีจาเป็นที่ต้องรักษาชีวิตของแม่
• การขลิบอวัยวะเพศชายเป็นเรื่องที่แนะนาให้ปฏิบัติ
• การช่วยให้ฆ่าตัวตายหรือการุนฆาตเป็นเรื่องต้องห้าม
• การช่วยผู้ป่วยระยะสุดท้ายในการใส่เครื่องช่วยหายใจโดยผู้ป่วยมีภาวะเป็นผักเป็นเรื่องที่ไรม่สนับสนุนให้ทา
• การผ่าศพชันสูตรเป็นสิ่งที่ต้องห้าม....ยกเว้นเป็นข้อบังคับทางกฎหมาย
• หลังคลอดจะมีการขอรกเอาไรปฝังต้องแจ้งให้ทราบ หากมีข้อจากัดไรม่สามารถให้นารกไรปไรด้
การให้บริการทางการแพทย์และพยาบาล
คือ
• จำกัดการสบตาไม่จ้องผู้ป่วยมากเกินไป
• ผู้หญิงมุสลิมจะใส่เสื้อผ้าที่มีการปกคลุมร่างกายหากต้องการตรวจควรมีเสื้อคลุมที่ยาวสามารถปกผิดร่างกายได้ทั่ว หากไรม่สามารถจัดหาให้ได้ควรจะอนุญาตให้ใส่เสื้อผ้าของตนเองได้
• มุสลิมไม่ได้ห้ามการได้รับบริการสุขภาพจากเพศตรงข้าม
• ผู้ให้บริการควรเป็นเพศเดียวกับผู้ป่วย
• ถ้ามีความจำเป็นต้องให้บริการจากผู้รักษาเพศตรงข้าม เช่น แพทย์เป็นผู้ชายควรให้สามีของผู้ป่วยเข้าไปด้วย
การดูแลเรื่องอาหาร
การดูแลอาหารเป็นอาหาร ฮาลาล ไม่มีหมูและแอลกอฮอล์
การดูแลทางจิตวิญญาณ
จัดสถานที่ละหมาด
มีสถานที่ล้างเท้าก่อนทาพิธี หรือจัดทาอ่างน้ำสำหรับอาบเพื่อทำการสวดทางศาสนา
การสวดมนต์จะทำวันละ5ครั้ง
ผู้มีข้อจำกัดด้านสติปัญญา ผู้หญิงหลังคลอด และ ผู้หญิงที่มีประจำเดือนจะเป็นข้อยกเว้น การสวดมนต์จะหันหน้าไปทางเมืองเมกกะ (หรือหันหน้าไปทางทิศตะวันตก)
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
เป้าหมายการดูแล
ลดความเจ็บปวดและอาการไม่สบายต่างๆ
ยอมรับเรื่องการมีชีวิตและการตายตามบริบทของศาสนาและวัฒนธรรม
บูรณาการมิติทางสังคม จิตใจ และจิตวิญญาณ
ให้การสนับสนุนและช่วยเหลือญาติ
มีการทำงานเป็นทีมเพื่อการดูแลผู้ป่วยและญาติอย่างมีคุณภาพ
การดูแลผู้ป่วยในระยะสุดท้ายของชีวิตชาวมุสลิม
มุสลิมต้องยอมรับการเจ็บป่วย ว่าเป็นสิ่งที่พระอัลลอฮ์กาหนดมาให้และต้องแสวงหาวิธีการรักษา การเจ็บป่วยเป็นสิทธิของพระอัลลอฮ์เพียงผู้เดียวเท่านั้น ศาสนาอิสลามได้สอนให้ทุกคนเชื่อว่าทุกสิ่งทุกอย่างมาจากพระอัลลอฮ์เพียงผู้เดียวทั้งหมด
ผู้ป่วยต้องอดทนต่อการเจ็บป่วย การเจ็บป่วยย่อมได้รับการลดบาปและได้กุศล
ผู้ป่วยต้องเอามือตนเองวางบนส่วนที่ตนเจ็บ แล้วให้การละหมาด หรือขอพรจากอัลลอฮ์
การขอพรจากพระอัลลอฮ์พร้อมจับมือผู้ป่วยหรือสัมผัส
การส่งเสริมกำลังใจ ตักเตือนให้เขาระลึกถึงความอดทน ทำให้เขารู้สึกอบอุ่น และเชื่อมั่นว่าจะหายป่วย
ต้องไม่ตั้งข้อรังเกียจเดียดฉันท์ผู้ป่วยและไม่แสดงท่าทีรังเกียจ ญาติต้องมีการดูแลอย่างใกล้ชิด ไม่ทอดทิ้งผู้ป่วย ถ้าไม่ดูแลถือว่าเป็นการกระทำที่สังคมรังเกียจ
ความเชื่อเกี่ยวกับความตายของมุสลิม
หลักความเชื่อ
• เป็นภาวะที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ทุกคนต้องเผชิญและยอมรับเพราะเป็นความประสงค์ของพระอัลเลาะฮ์
• ชีวิตมนุษย์มาจากพระองค์ประทานมาให้สุดท้ายต้องกลับไปหาพระองค์
• อิสลามไม่ให้มนุษย์ฆ่าตัวตาย แต่ทุกคนต้องราลึกถึงความตายอยู่ตลอดเวลา ทั้งนี้เพื่อทุกคนไรด้เตรียมตัวเตรียมใจและพร้อมที่จะกลับไปสู่พระอัลเลาะฮ์เปรียบเสมือนการก้าวผ่านจากชีวิตหนึ่งไปสู่อีกชีวิตหนึ่ง
• ภาวะใกล้ตายเป็นภาวะที่มุสลิมต้องการอยู่ใกล้พระอัลเลาะฮ์มากที่สุด และเป็นการดูแลให้ผู้ป่วยลดความทุกข์ทรมาน
• พระผู้เป็นเจ้าทรงเป็นผู้ให้มนุษย์เกิดและให้มนุษย์ตาย
• พระเจ้าเป็นผู้ทรงกาหนดอายุขัยของมนุษย์
• มนุษย์ไม่สามารถรู้ได้ว่าที่ใดและเมื่อใดเขาจะตาย
• มนุษย์ต้องราลึกถึงความตายให้มาก
• ความตายเป็นข่าวดีและสบายใจสาหรับผู้ศรัทธา
การจัดการศพตามวิถีอิสลาม
สาหรับมุสลิมที่ตายด้วยโรคภัยไข้เจ็บ
-ให้นำศพมาอาบน้ำชำระสิ่งสกปรกที่ติดอยู่รีดท้อง เพื่อให้สิ่งปรกภายในเคลื่อนที่ออกมา แล้วรดน้ำให้สะอาดทั้งตัว
-นำศพมาวางบนผ้าขาวซึ่งปูไว้ 3 ชั้น นำมือทั้งสองไว้ที่ระดับอกให้มือขวาทับบนมือซ้ายแล้วห่อด้วยขาว 3 ชั้น
-นำศพไปบรรจุในหีบศพถ้าหากอยู่ในที่กันดาร ไม่ใช้หีบศพก็ได้แต่ให้ทำหลุมเพื่อเตรียมฝัง
-ฝังในหลุมลึก คะเนพอไม่ให้มีกลิ่นขึ้น หรือสัตว์ป่าคุ้ยเขี่ยขึ้นมาได้
-เมื่อฝังในที่ใดแล้ว ห้ามขุดศพนั้นขึ้นมาไม่ว่าประการใด ๆ
-การฝังให้วางศพนอนตะแคงข้างขวา หันหน้าศพไปทางทิศตะวันตกแล้วนาดินที่ขุดขึ้นมากลบไปจนหมด
-หากจำเป็นต้องรักษาศพ ให้รักษาไว้ไม่ให้มีกลิ่นเหม็น ถ้าปล่อยให้มีกลิ่นเหม็นทางศาสนาถือว่าเป็นการบาป
การไปเยี่ยมเคารพศพผู้นับถือศาสนาอิสลาม
กรณีศพอยู่บ้าน
-นำศพมาอาบน้าชำระสิ่งสกปรก รดน้ำให้สะอาดทั้งตัว
-นำศพมาวางบนผ้าข้าวซึ่งปูไว้ 3 ชั้น หรือนำศพบรรจุในหีบศพ
-ผู้ไปเยี่ยมเคารพศพ ควรไปแสดงไว้อาลัยกับญาติที่มีชีวิตอยู่ เป็นการให้เกียรติแก่เจ้าภาพ
-ทำความเคารพศพ โดยกล่าวคำไว้อาลัยได้ (ไม่นิยมนำพวงหรีดไปวาง)
-มอบเงินซองให้เจ้าภาพ
กรณีศพอยู่มัสยิดหรือสุเหร่า
-ผู้ร่วมพิธีจะรอเคารพศพก่อนพิธีละหมาด
-ผู้ร่วมพิธีมุ่งไปแสดงความเสียใจกับญาติ
-พิธีฝังจะเป็นพิธีของญาติ ๆ
-มอบเงินซองให้เจ้าภาพ
การอุทิศศพ เมื่อผู้ตายสั่งเสียมอบร่างกายศพ หรือบริจาคอวัยวะ
คือ
1) ผู้สั่งเสียต้องเป็นบุคคลที่มีคุณสมบัติครบ คือ บรรลุนิติภาวะมีสติสัมปชัญญะจริงจัง และยินยอมในการบริจาคอวัยวะ
2) คาสั่งเสียบริจาคนั้นต้องเป็นลายลักษณ์อักษร
3) จุดประสงค์ในการถ่ายอวัยวะนั้นเพราะความจาเป็นทางการแพทย์
4) จุดประสงค์ต้องไม่ใช่เพื่อการค้า แสวงหากำไร แลกเปลี่ยนหรือเพื่อให้ได้มาซึ่งสิทธิพิเศษ
5) อวัยวะที่ผู้สั่งเสียได้แสดงเจตนาบริจาคนั้น ต้องไม่ใช่ส่วนที่ค้านกับหลักการและคำสอน
6) คาดการณ์ได้ว่าการผ่าตัดถ่ายอวัยวะจากผู้ตายที่ได้สั่งเสียไว้ไปสู่ผู้ที่ยังมีชีวิต จะต้องประสบผลค่อนข้างสูง
7) ดำเนินการตามคำสั่งเสียได้ก็เมื่อผู้สั่งเสียตายเท่านั้น