Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ - Coggle Diagram
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขอนามัยส่วนบุคคล
อาชีพ
ถิ่นที่อยู่
เศรษฐกิจ
ภาวะเจ็บป่วย
การศึกษา
สิ่งแวดล้อม
ภาวะสุขภาพ
ขนบธรรมเนียมประเพณี และความเชื่อ
เพศ
อายุ
11.ความชอบ
การดูแลความสะอาดส่วนต่างๆของร่างกาย
การพยาบาลในช่วงเวลาต่างๆ
การพยาบาลตอนเช้าตรู่ (Early morning care)
การพยาบาลตอนเช้า (Morning care/A.M care)
การพยาบาลตอนบ่ายหรอืตอนเย็น (Afternoon care/ P.M care)
การพยาบาลตอนก่อนนอน (Evening care/ HS care)
การพยาบาลเมื่อผู้ปว่ยต้องการ (As-needed/ prn care)
การดูแลความสะอาดบนผิวหนัง
2.การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงเฉพาะบางส่วน
3.การอาบน้ำผู้ป่วยบางเตียงชนิดสมบูรณ์.
กำจัดสิ่งสกปรก ที่สะสมบนผิวหนังและส่งเสริมความมั่นใจในตนเอง
ให้ผู้ป่วยรู้สึกสบาย สดชื่นและผ่อนคลาย
ประเมินการเคลื่อนไหวของร่างกายและส่งเสริมการออกก าลังกายของ ข้อต่าง ๆ
สังเกตความผิดปกติของผวิหนัง
กระตุ้นการไหลเวียนของโลหิตและป้องกันแผลกดทับ
การนวดหลัง (Back rub or back massage)
จัดท่าให้ผู้ป่วยสุขสบาย 5. เลือกใช้แป้งหรอืโลชันหรือครีม เพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง 6. ใช้เวลานวดประมาณ 5-10 นาที
ไม่นวดบริเวณที่มีการอักเสบ มีแผล กระดูกหัก ผู้ป่วยโรคหัวใจ ภาวะมีไข้ โรคผิวหนัง โรคมะเร็งระยะลกุลามแพรก่ระจาย
นวดเป็นจังหวะสม่ าเสมอ
เลือกใช้แป้งหรอืโลชันหรือครีม เพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง
3.ไม่นวดแรงเกินไปจนผู้ป่วยเจ็บ
1.การอาบน้ำที่ห้องน้ำ
การดูแลความสะอาดปากและฟัน
ปากและฟันสะอาด มีความชุ่มชื่น
ก าจัดกลิ่นปาก ลมหายใจสดชื่น ป้องกันฟันผุ
ลดการอักเสบของเหงือก กระพุ้งแก้ม
สังเกตฟัน เหงือก กระพุ้งแก้ม ลิ้น มีแผล หรือการติดเชื้อ หรือ เลือดออกหรือฝ้าในช่องปาก
การดูแลความสะอาดของเล็บ
ให้เล็บสะอาดและสุขสบาย
ป้องกันการเกิดเลบ็ขบ
การดูแลความสะอาดตา
ก าจัดขี้ตา ท าให้ดวงตาสะอาด
ความสุขสบายของผู้ป่วย
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ป่วย
การดูแลทำความสะอาดหู
ก ำจัดสิ่งสกปรกภายในช่องหู
ท าความสะอาดใบหูและหลังใบหู
การดูแลทำความสะอาดของจมูก
ก ำจัดสิ่งขับถ่ายและสิ่งสกปรกภายในจมูก
ป้องกันสารคัดหลั่งแห้งยึดขนจมูกกับสายที่คาไว้
ป้องกันการเกิดแผลกดทับที่ด้านในรูจมูกจากสายที่คา ไว้
การดูแลความสะอาดของหนังศีรษะ
ขจัดความสกปรกและสารที่ใส่บนผม และหนัง ศีรษะเพื่อการตรวจรักษา
ความสุขสบายและสดชื่นของผู้ป่วย
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของผู้ป่วยและรู้สึกมีความ มั่นใจ
ความหมายความสำคัญของการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
ความหมาย หลักการและความรู้ของการ คงไว้หรือรักษาไว้ซึ่งสุขภาพและการป้องกันโรค โดยการปฏิบัติกิจกรรม ต่าง ๆ ในการส่งเสริมความสะอาดเพื่อคงไว้ซึ่งการมีสุขภาพดี
ความสำคัญ เป็นกิจวัตรประจ าวันของมนุษย์ เพื่อ ช าระสิ่งสกปรกออกจากร่างกาย โดยใช้น้ าเป็นตัวช่วยกิจกรรมที่ ท าร่วมกับการอาบน้ า ประกอบด้วย การล้างหน้า การแปรงฟัน และการสระผม ผลของการอาบน้าคือ ร่างกายสะอาด สดชื่น และรู้สึกสุขสบาย
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
การส่งเสริมการนอนหลับพักผ่อน
ความหมายการพักผ่อนนอนหลับ
การผ่อนคลาย และมีความสงบทั้งจิตใจ และร่างกาย ความไม่วิตกกังวล สงบหรือผ่อนคลายโดยไม่มีความเครียดทางอารมณ์
เป็นกระบวนการทางสรรีรวิทยาพื้นฐานที่สอดประสานกับจังหวะ การท างานของร่างกายด้านอื่นๆ โดยมีการเปลี่ยนแปลงของ อวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายในทางผ่อนคลาย
ความสพคัญของการพักผ่อนนอนหลับ
ส่งเสริมการเจริญเติบโต ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
ซ่อมแซมและสร้างเนื้อเยื่อขึ้นใหม่
สงวนพลังงาน
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และความจำ
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
วงจรการนอนหลับ
ช่วงหลับธรรมดา
ระยะที่2 หลับตื้น
ระยะที่3หลับปานกลาง
ระยะที่1 เริ่มมีความง่วง
ระยะที่4 หลับลึก
ปัจจัยที่มีผลต่อการพักผ่อนนอนหลับ
ร่างกาย
สังคม
จิตใจอารมณ์
สติปัญญาและการรับรู้
ประเมินคุณภาพการนอนหลับ การนอนหลับผืดปกติ
การประเมินคุณภาพเชิงปริมาณ
1.1 ระยะเวลาตั้งแต่เข้านอนจนกระทั่งหลับ
1.2 ระยะเวลาการนอนหลับในแต่ละคืน
1.3 จ านวนครั้งที่ถูกรบกวนขณะนอนหลับ
1.4 ประสิทธิภาพในการนอน
การประเมินคุณภาพเชิงคุณภาพ
1.ใช้การประเมินความรู้สึกต่อการนอนหลับ
2.ใช้แบบประเมินแบบแผนการนอนหลับ
การนอนหลับที่ผิดปกติ
อินซอมเนีย (Insomnia)
2.การนอนหลับไม่เพียงพอระยะสั้น
3.การนอนหลับไม่เพียงพอแบบเรื้อรัง
1.การนอนหลับไม่เพียงพอชั่วคราว
Hypersomnia
เป็นการนอนหลับมาก ง่วงนอนมากกว่าปกติ
หลับขณะขับรถยนตร์ หรือรอรถติดไฟแดง หลับในห้องประชุม
Parasomnia
2 ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงจากหลับมาตื่น/ จากตื่นมาหลับ อาการขากระตุกขณะก าลังหลับ(Hypnic jerks) ละเมอพูด
3 กลุ่มอาการที่เกิดขึ้นขณะหลับชนิดที่มีการกรอกตา ภาวะฝันร้าย (Nightmares) ภาวะผีอ า (Sleep paralysis
ความผิดปกติของการตื่น (Around disorder) อาการสับสน
.4 กลุ่มอื่น ๆ การนอนกัดฟัน (Sleep bruxism) การปัสสาวะรดที่นอนขณะหลับ (Sleep enuresis) การกรน (Primary snoring)
ส่งเสริมการพักผ่อนและการนอนหลับ
1.การจัดสิ่งแวดล้อม
ความพร้อมของอุปกรณ์
อุณหภูมิ
ความสะอาด
เสียง
กลิ่น
แสงสว่าง
ความเป็นส่วนตัว
ความอบอุ่น
2.การจัดท่าทางผู้ป่วย
ท่านอนคว่่ำ (Prone position)
ท่านอนตะแคง (Lateral position)
ท่านอนหงายราบ (Dorsal position หรือ Supine position)
ท่านั่งที่สุขสบาย
ท่านอนหงายราบ (Dorsal position หรือ Supine position)
การทำเตียง
การทำเตียงผู้ป่วยลุกจากเตียงได้
การทำเตียงผู้ป่วยลุกจากเตียงไม่ได้
การทำเตียงว่าง
การทำเตียงผู้ป่วยหลังผ่าตัดผู้ป่วยได้รับยาสลบ
กระบวนการพยาบาลส่งเสริมการนอนหลับพักผ่อน
1.การประเมินสุขภาพ
2.การวินิจฉัยทางการพยาบาล
พักผ่อนไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกายเนื่องจากมีความวิตกกังวล
3.การวางแผนการพยาบาล
เพื่อให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนเพียงพอกับความต้องการของร่างกายและปลอดภัย
4.การปฎิบัติการพยาบาล
ประเมินสาเหตุและแบบแผนการนอนหลับปกติ
ประเมินคุณภาพการนอนหลับเชิงปริมาณเชิงคุณภาพ
จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ แสงสว่างเพียงพอ ขจัดสิ่งรบกวน
5.การประเมินผลการพยาบาล
ผลการประเมินคุณภาพการนอนหลับเชิงปริมาณไม่ต่ำกว่าร้อยละ80
ผลการประเมินคุณภาพการนอนหลับเชิงคุณภาพผ้ป่วยนอนหลับสนิทได้มากขึ้น