Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวความคิดทางการจัดการยุคโลกาภิวัตน์ (Globalization Management) - Coggle…
แนวความคิดทางการจัดการยุคโลกาภิวัตน์ (Globalization Management)
คือ การควบคุมคุณภาพ การจัดการยุคโลกาภิวัตน์เป็นการจัดการ ที่องค์การต้องเผชิญกับสภาวะแวดล้อมทางการแข่งขันที่รุนแรง เช่น การเปลี่ยนแปลงด้านคว
text
ามก้าวหน้าทางเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงในด้านทัศนคติและพฤติกรรมของลูกค้า การเปลี่ยนแปลงในกระแสโลกาภิวัตน์ เป็นต้น
ผู้บริหารการศึกษามืออาชีพในยุคปฏิรูปการศึกษา ภายใต้รูปแบบการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา ในยุคของการบริหารจัดการศึกษาไทยใน ปัจจุบัน ท่ามกลางกระแสแห่งความเป็นโลกาภิวัฒน์ (Globalization) ซึ่งอยู่ภายใต้เงื่อนไขการ ปรับเปลี่ยนการแข่งขันเพื่อสร้างข้อได้เปรียบและความมุ่งมั่นของสังคม
ผู้บริหาร หมายถึง ผู้ ที่มีศิลปะในการบริหารคนบริหารงานให้ ประสบความสำเร็จบรรลุ ตามเป้าหมาย ที่วางไว้ ผู้บริหารแบ่งเป็น ๓ ระดับ คือ
1.ผู้บริหารระดับต้น (First-Line Managers) หมายถึง ผู้บริหารที่อยู่ระหว่างพนักงาน ระดับ ปฏิบัติการกับผู้บริหารระดับอื่น ๆ
2.ผู้บริหารระดับกลาง (Middle Managers) หมายถึง บุคคลที่อยู่ตรงกลางระหว่าง ผู้บริหาร ระดับสูงและผู้ปฏิบัติ เป็นผู้ที่ทำหน้าที่นำวิสัยทัศน
3.ผู้บริหารระดับสูง (Top Managers) หมายถึง ผู้ ที่ปฏิบัติงานอยู่ในระดับสูงสุดของ องค์กร มี อำนาจหน้าที่ในการกำหนดเป้าหมายขององค์กร ในรูปของ วิสัยทัศน์ พันธ์กิจ กลยุทธ์ และนโยบาย
บริหารอย่างมืออาชีพจำนวนมากพบว่าผู้บริหารเหล่านั้นจะมีคุณลักษณะหรือคุณสมบัติที่โดดเด่นใน เรื่องต่อไปนี้
๑. มีบุคลิกภาพที่ดี ( Personality)
๒. มีความรู้ดี (Knowledge)
๓. มีวิสัยทัศน์ (Vision)
๔. มีมนุษย์สัมพันธ์ (Human relationship)
๕. มีภาวะผู้นำ (Leadership)
๖. เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง (chief change officer)
๗. มีคุณธรรมจริยธรรม (Moral & Ethics)
๘. บริหารจัดการดี (Administration & Management)
๙. มีความสามารถพิเศษรอบด้าน (Talent)
๑๐. เป็นผู้นำวิชาชีพ (Professional leader)
แนวทางสําหรับแนวความคิดทางการจัดการยุค โลกาภิวัตน์
1.การควบคุมคุณภาพ องค์การที่จําหน่ายผลิตภัณฑ์ในตลาดระดับโลกมีความ จําเป็นต้อง ให้ความสําคัญในด้านคุณภาพ (Quality) ของผลิตภัณฑ์ ซึ่งเป็นองค์ประกอบของ ความได้เปรียบเหนือ
3.การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Continuous improvement) เป็นความพยายามขององค์การที่จะรักษาความได้เปรียบในเชิงคุณภาพไว้ โดย การหาวิธีการใหม่ๆ ที่จะนําเข้ามาใช้เพื่อปรับปรุงผลการปฏิบัติการที่เป็ นอยู่ในปัจจุบันให้ดีขึ้น
4.การรื้อปรับระบบ ผลจากการปรับปรุงคุณภาพหรือวิธีการปรับปรุงอย่าง ต่อเนื่อง ดังกล่าวข้างต้น ตามวิธีการของญี่ปุ่ นเป็ นการปรับปรุงแบบค่อยเป็นค่อยไปทีละขั้นตอน
2.การควบคุมคุณภาพโดยรวม ตามแนวความคิดของการควบคุมคุณภาพ โดยรวม (Total quality management ) เป็นการดําเนินการที่เน้นการควบคุมคุณภาพทั่วทั้ง องค์การ เพื่อให้บุคลากร ทุกระดับเกิดการปรับปรุงและพัฒนากระบวนการทํางานทุกด้าน
ผลจากกระแสโลกาภิวัตน์ที่ผู้บริหารต้องปรับตัวโดยการใช้ประโยชน์จากระบบ ข้อมูล สารสนเทศและเทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์สูงสุดที่ทําให้การติดต่อสื่อสาร และการแสวงหา ข้อมูล ข่าวสารทําได้อย่างมีประสิทธิภาพ