Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่1 การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม - Coggle Diagram
บทที่1 การดูแลสุขภาพแบบข้ามวัฒนธรรม
ความหมายของวัฒนธรรม(Culture)
องค์ประกอบของวัฒนธรรม
2)องค์การหรือสมาคม (Organization )
หมายถึง วัฒนธรรมในส่วนของการจัดระเบียบเป็นองค์การหรือสมาคม
3)องค์พิธีหรือพิธีการ(Usage หรือCeremony)
หมายถึง วัฒนธรรมในส่วนของพิธีหรือพิธีการต่างๆ
1)องค์วัตถุ (Material)
หมายถึง วัฒนธรรมในด้านวัตถุที่มีรูปร่างสามารถจับต้องได้
4)องค์มติหรือมโนทัศน์ (Concepts)
หมายถึง วัฒนธรรมในด้านความคิด ความเชื่อ และอุดมการณ์ต่างๆ ซึ่งส่วนใหญ่ได้รับมาจากคําสอนทางศาสนา
ความสำคัญของวัฒนธรรม
4)ทําให้เกิดความสงบเรียบร้อยในสังคม
5)ทําให้มีพฤติกรรมเป็นแบบเดียวกัน
3)ทําให้มีความรู้สึกเป็นพวกเดียวกันและให้ความร่วมมือกันได้
6)ทําให้เข้ากับคนพวกอื่นในสังคมเดียวกันได้
2)การศึกษาวัฒนธรรมจะทําให้เข้าใจชีวิตความเป็นอยู่ ค่านิยมของสังคม เจตคติความคิดเห็นและความเชื่อถือของบุคคลได้อย่างถูกต้อง
7)ทําให้มนุษย์มีสภาวะที่แตกต่างจากสัตว์
1)วัฒนธรรมเป็นเครื่องกําหนดความเจริญหรือความเสื่อมของสังคม
วัฒนธรรมคือสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นมา เป็นเครื่องมือที่มนุษย์คิดค้นเพื่อช่วยให้สามารถดํารงชีวิตอยู่ต่อไปได้ในสังคมของตน
ทางสังคมวิทยาได้จําแนกวัฒนธรรมออกเป็น
1)วัฒนธรรมทางวัตถุ (material culture) หมายถึง สิ่งของหรือวัตถุอันเกิดจากความคิดและการประดิษฐ์ขึ้นมาของมนุษย์
2)วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุ (non-material culture) หมายถึง วัฒนธรรมที่แสดงออกได้โดยทัศนะ ประเพณี ขนบธรรมเนียม การปฏิบัติสืบต่อกันมา
คุณค่า ความเชื่อ ค่านิยมทางสังคมที่มีผลต่อหลักการในการดําเนินชีวิต
ความเชื่อ หมายถึง การยอมรับคําอธิบายเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์หนึ่ง ๆ ที่บุคคลได้จากการรับรู้และเรียนรู้ร่วมกันในสังคม และถ่ายทอดสืบต่อกันมา
ประเภทของความเชื่อ
2) ความเชื่อขั้นพื้นฐานของบุคคล
เกิดจากประสบการณ์ตรง
เกิดจากการแลกเปลี่ยนพบปะสังสรรค์
3) ความเชื่อแบบประเพณี
1) ความเชื่อในสิ่งปรากฏอยู่จริง
4) ความเชื่อแบบเป็นทางการ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเชื่อ
2) ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม
การขัดเกลาทางสังคม
การควบคุมทางสังคม
การปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
3) ปัจจัยทางด้านบุคคล
อายุ
เพศ
ศาสนา
การศึกษา
อาชีพ
1) ปัจจัยทางด้านจิตวิทยา
การรับรู้
การเรียนรู้
ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรคและวิธีการดูแลสุขภาพ
3) ความเชื่อแบบการแพทย์แผนตะวันตกและวิธีการดูแลสุขภาพ
การเจ็บป่วยเกิดจากเชื้อโรค
วิธีการดูแลสุขภาพแบบแพทย์ตะวันตก
จะมีการวินิจฉัยหาสาเหตุของความเจ็บป่วย
2) ความเชื่อแบบพื้นบ้านและวิธีการดูแลสุขภาพ
ความเจ็บป่วยที่เกิดจาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
วิธีการดูแลสุขภาพแบบพื้นบ้าน จะมีการทําพิธีตั้งขันข้าวหรือการตั้งคายซึ่งเป็นการไหว้ครูเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ทางการรักษา
4) ความเชื่อและการดูแลสุขภาพในช่วงเปลี่ยนผ่านสถานการณ์ชีวิต
4.1)ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการเกิดแบบพื้นบ้าน
2) ระยะคลอดบุตร
ความเชื่อเกี่ยวกับการคลอดบุตร ได้แก่ เรื่องความเป็นสิริมงคล ท่าทางในการคลอด
การดูแลสุขภาพในระยะคลอดบุตร ได้แก่ การจัดสถานที่และท่าทางในการคลอด
3) ระยะหลังคลอด
ความเชื่อเกี่ยวกับภาวะหลังคลอด ได้แก่ ความเชื่อเรื่องผี ความเชื่อเรื่องกรรม
การดูแลสุขภาพในระยะหลังคลอด ได้แก่ การอยู่ไฟ การนาบหม้อหรือการทับหม้อเกลือ
1)ระยะตั้งครรภ์
การดูแลสุขภาพในระยะตั้งครรภ์ จะเกี่ยวกับสุขภาพจิต สุขภาพกาย การดูแลทารกในครรภ์ การฝากครรภ์
-ความเชื่อเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ คนโบราณเชื่อว่าการตั้งครรภ์เป็นผลจากความสัมพันธ์ของมนุษย์กับดวงดาวในระบบจักรวาล
4.2) ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับการเกิดแบบแพทย์ตะวันตก
ความเชื่อเรื่องเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ เป็นภาวะที่ตัวอ่อนหรือทารกได้ก่อกําเนิดขึ้นภายในมดลูก
การดูแลสุขภาพแบบการแพทย์ตะวันตก คือ มีในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และหลังคลอด โดยมีวัตถุประสงค์ให้มารดาและทารกสมบูรณ์แข็งแรง
1) ความเชื่อแบบอํานาจเหนือธรรมชาติและวิธีการดูแลสุขภาพ
ความเชื่อเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรค โดยมีความเชื่อที่ว่า ความเจ็บป่วยเกิดจากการกระทําของผี
วิธีการดูแลสุขภาพแบบเหนือธรรมชาติ ส่วนใหญ่ใช้การประกอบพิธีกรรมเป็นหลัก
5) ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความชรา
5.2) ความเชื่อเกี่ยวกับความชราและการดูแลสุขภาพแบบการแพทย์แผนตะวันตก
1) ความเชื่อเกี่ยวกับความชรา กําหนดอายุตั้งแต่ 60 หรือ 65ปีขึ้นไป
2) การดูแลสุขภาพวัยชราแบบการแพทย์แผนตะวันตก ได้แก่ การดูแลด้านโภชนาการ
5.1) ความเชื่อเกี่ยวกับความชราและการดูแลสุขภาพแบบพื้นบ้าน
2) การดูแลสุขภาพวัยชราแบบพื้นบ้าน ได้แก่ การใช้สมุนไพร
1) ความเชื่อเกี่ยวกับความชรา ปัจจัยชี้บ่งถึงความชรา
6) ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตาย
6.2) ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตายแบบแพทย์แผนตะวันตก
1) จะพิจารณาจากการหยุดทํางานของหัวใจและการทํางานของแกนสมอง
2) การดูแลสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการตายแบบแพทย์แผนตะวันตก มุ่งเน้นให้ระบบและอวัยวะต่าง ๆ สามารถทํางานต่อไปได้และยืดชีวิตผู้ป่วย
6.1) ความเชื่อและการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตายแบบพื้นบ้าน
1) ความเชื่อเกี่ยวกับความตายแบบพื้นบ้าน มีความเชื่อในเรื่องวิญญาณ
2) การดูแลสุขภาพเกี่ยวกับความตายแบบพื้นบ้าน จะมุ่งเน้นการตอบสนองทางด้านจิตวิญญาณของผู้ตายและเครือญาติ
ค่านิยมทางสังคม
ทุกสังคมจึงมีระบบค่านิยมของตนเอง ซึ่งถือเป็นลักษณะเฉพาะที่คนในสังคมนั้นๆ ยึดถือว่ามีคุณค่าร่วมกัน เกิดจากการอบรมบ่มนิสัยหรือการปลูกฝังค่านิยมตั้งแต่ในวัยเด็ก จนเกิดความเคยชินและหล่อหลอมจนกลายเป็นบุคลิกภาพ
อิทธิพลต่อการเรียนรู้
3) สถาบันศาสนา
4) สังคมวัยรุ่นและกลุ่มเพื่อน
2) โรงเรียน
5) สื่อมวลชน
1)ครอบครัว
6) องค์การของรัฐบาล
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพและการแสวงหาการรักษาของประชาชนในภูมิภาคต่างๆของโลก
2.ประเภทของวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
1)วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพในสภาวะปกติ
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ เช่น การกินอาหารประเภทน้ําพริกผักจิ้มและอาหารจากธรรมชาติ
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการป้องกันโรค เช่น การบริโภคอาหารปรุงสุก
2) วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพในสภาวะเจ็บป่วย
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการรักษาโรค ในแต่ละสังคมต่างมีระบบการดูแลสุขภาพที่มีความเชื่อมโยงกัน
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการฟื้นฟูสมรรถภาพ เช่น การดูแลการพักฟื้นของผู้ป่วยจากคนในครอบครัว
1.แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
วัฒนธรรมการดูแลสุขภาพ หมายถึง ความคิด ความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพที่เชื่อมโยงตั้งแต่การดูแลสุขภาพตัวเอง
ป้องกันไม่ให้เกิดการเจ็บป่วยหรือพิการ
ดูแลรักษาสุขภาพเมื่ออยู่ในภาวะเจ็บป่วยเป็นโรค
ส่งเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ
ฟื้นฟูสุขภาพให้เข้าสู่ภาวะปกติ
3.ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมกับการดูแลสุขภาพ
ASKED
Knowledge
การมีองค์ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม (cultural knowledge) คือ การแสวงหาความรู้พื้นฐานที่ เกี่ยวข้องกับโลกทัศน์ ของบุคคลที่มีความแตกต่างกันทางวัฒนธรรม
Skill
การมีทักษะเกี่ยวกับวัฒนธรรม (cultural skill) คือ ความสามารถของบุคลากรสุขภาพในการเก็บ ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติและปัญหาของผู้รับบริการ
Encounter
ความสามารถในการเผชิญและจัดการกับวัฒนธรรม (cultural encounter) หมายถึง การที่ บุคลากรสุขภาพมีความสามารถในการจัดบริการที่เหมาะสม
Awareness
การตระหนักรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม (cultural awareness) หมายถึง กระบวนการรู้คิดของ บุคลากรสุขภาพที่เล็งเห็นถึงความสําคัญของ การให้คุณค่า ความเชื่อ วิถีชีวิต พฤติกรรม และวิธีการแก้ปัญหา
Desire
ความปรารถนาที่จะมีสมรรถนะทางวัฒนธรรม (cultural desire) ของบุคลากรทางสุขภาพ ที่ทําให้ ต้องการเข้าไปสู่กระบวนการพัฒนาสมรรถนะทางวัฒนธรรม