Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาอิสลาม, image, image,…
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามมีต้นกำเนิดที่ประเทศซาอุดิอาราเบีย
มีผู้นับถือมากเป็นอับสองรองจาก ศาสนาคริสต์
ccc(ต่อพระเจ้าคือ พระอัลลอฮ์)
ศาสดาของศาสนาอิสลาม คือ นบีมูฮัม มัด
พระคัมภีร์ของศาสนาอิสลาม คือ อัลกุรอาน
ผู้นับถือศาสนาอิสลาม คือ มุสลิม
ศาสนสถานของชาวมุสลิมคือ มัสยิด หรือ สุเร่า
สัญญลักษณ์ของศาสนาอิสลาม
รูปพระจันทร์ครึ่งเสี้ยวและดาวอยู่ข้างบน
เดือนคือเวลาที่ผ่านไรปที่มนุษย์ต้องใคร่ครวญถึงการกระทำของตนเอง สัญลักษณ์รูปเดือนครึ่งจะเป็นศิริมงคลที่สุดของมุสลิมคือ ในเดือนรอมฎอน
คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย
ป็นคณะผู้บริารกิจการศาสนาอิสลามในประเทศไรทย
ใช้อานาจตามพระราชบัญญัติการบริารองค์กรศาสนาอิสลาม ปี
2540
ประกอบด้วยจุฬาราชมนตรีเป็นประธานกรรมการ
นิกายซุนนี
(Sunni)มีผู้นับถือ 75-90%
ซุนนี แปลว่า มรรคา รือจารีต
เป็นพวกออร์ธอดอกซ์ของอิสลาม
ใช้มวกสีขาวเป็นสัญลักษณ์และเป็นนิกายที่มีผู้นับถือมากที่สุดประมาณ
700ล้านคน ถือว่าเป็นนิกายดั้งเดิม
นิกาย
(Shiah)
อิม่ามหมายถึงหัวหน้าสุเหร่าหรือมัสยิดซึ่งเป็นผู้สืบต่อศาสนาจากนบีมุฮัมมัด
หลักการอันเป็นข้อบังคับสาหรับมุสลิมทุกคนจะต้องรู้จะต้องประพฤติเริ่มตั้งแต่อายุ 3ขวบเป็นต้นไป
ลักศรัทธา ความเชื่อในศาสนา
ลักปฏิบัติ น้าที่ในศาสนา (อิบาดะ )
ลักคุณธรรม (อิ ซาน)
ทุกคนต้องเรียนรู้ ลักการของศาสนาอิสลาม ไรม่มีขอยกเว้นเป็นหน้าที่พึงปฏิบัติ
หลักศรัทธาของศาสนาอิสลาม
เป็นผู้อยู่ก่อนสรรพสิ่งทั้งปวง ทรงเป็นผู้สร้างทุกสิ่งในเอกภพ
พระเจ้าสร้างอดัม(อิสลามเรียกท่านนบีอาดัม)
ไม่มีการดำเนินชีวิตเหมือนมนุษย์ เป็นสื่อกลางระหว่างพระอัลลอฮ์กับมนุษย์
ศรัทธาในบรรดาศาสนทูต หรือ ศาสดาซึ่งมี 258 ท่านที่ระบุไว้
ศรัทธาในพระคัมภีร์อัลกุรอาน และมีคัมภีร์อื่นๆ
วันกียามะฮ์ม นุษย์ทุกคนรอวันตัดสินชาระความ
ศรัทธาในการลิขิตขององค์พระผู้เป็นเจ้า
หลักปฏิบัติหน้าที่ในศาสนาหลักศรัทธาของศาสนาอิสลามเรียกว่า อิบาดะห์
การปฏิญาณตนเข้ารับนับถือศาสนาอิสลาม
การละ มาด รือ สวด (นมาซ หรือนมัสการ) 5 เวลาต่อวัน
การถือศีลอด
การบริจาคศาสนทานซะกาต
การประกอบพิธีฮัจญ์
การละหมาด หรือ สวดนมาซ หรือ นมัสกา
ละหมำดวันละ 5 เวลา
เวลายำ่รุ่ง
เวลากลางวัน
เวลาเย็น
เวลาพลบค่า
เวลากลางคืน
การถือศีลอด
ตรงตามเวลาใน 24 ชั่วโมงดึกถึงก่อนฟ้ารุ่งสางะมื้อค่าตอนเมื่ออาทิตย์ลับขอบฟ้า
หลักคุณธรรม (อิห์ซาน)
เป็น ลักเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม
ฮาลาลHalalการกระทำที่อนุญาต
ฮารอม HaromHaromการกระทำที่ต้องามการแต่งกาย
วัฒนธรรมแต่งกายของมุสลิมทั้งชายและ หญิงมีสาระสาคัญเ มือนกันคือ มิดชิดและปิดศีรษะเรียกว่า การสวมใส่“ ฮิญาบ
พิธีสุหนัต
เด็กชายมุสลิมอายุระ ว่าง
2--10 ขวบ จะต้องไรด้รับพิธีสุหนัต
การตัดหนังุ้มปลายองคชาติซึ่งถือว่าเป็นหน้าที่และเป็นสิ่งควรสรรเสริญทั้งเป็นธรรมเนียมเบื้องต้นเพื่อประโยชน์สำหรับการแต่งงาน
พิธีถือศีลอด
เดือนรอมฎอนตลอด 1เดือน
เป็นพิเศษในช่วงถือศีลอด
(ยกเว้นผู้ป่วย / มีประจาเดือนสตรีมีครรภ์
ข้องดเว้นจากการกระทาต่างๆตั้งแต่แสงอรุณขึ้นจนถึงตะวันตกในเดือนรอมฎอนปี 2563ในช่วงวันที่ 23 เมษายน 22 พฤภาคม
งดการกินและการดื่ม
งดการมีเพศสัมพันธ์
งดการใช้วัตถุภายนอกเข้าไรปในอวัยวะภายใน
งดการแสดงอารมณ์ร้ายและความผิดต่างๆ
มุสลิมที่บรรลุนิติภาวะทางร่างกายต้องละหมาดและต้อง
ถือศีลอดทุกคนยกเว้นสำหรับบุคคลบางประเภทต่อไปนี้
คนชรา
คนป่วย รือสุขภาพไรม่ดี
หญิงที่มีครรภ์ที่เกรงว่าจะเป็น
อันตรายแก่บุตร
บุคคลที่ทางาน นัก
บุคคลที่อยู่ในระ ว่างเดินทาง
หญิงขณะมีรอบเดือนและหลัง
คลอด
การบริจาคศาสนทาน“ซะกา
การบริจาคซะกาต(การจ่ายภาษีทางศาสนาแก่คนยากจน)คือ การจ่ายทรัพย์สินส่วนเกินจำนวน นึ่งที่มุสลิมต้องจ่ายใ้แก่ผู้มี
สิทธิ์รด้รับเมื่อครบปี
วัตถุประสงค์ของการบริจาคซะกาต
เพื่อชาระจิตใจของผู้บริจาคใ้บริสุทธิ์
เพื่อปลูกฝังใ้มุสลิมทั้ง ลา
เพื่อลดช่องว่างระว่างชนชั้นนสังคม
พิธีฮัจญ์
สำหรับชาวมุสลิมผู้มีฐานะดีมีสุขภาพดีบรรลุศาสนภาพด้วยผู้ที่ควรไปเข้าร่วมปฎิบัติในพิธีฮัจญ์ ได้แก่ผู้ชายอายุ 15 ปีและผู้หญิง 19 ปี
การประกอบพิธีฮัจญ์
การเดินทางไปประกอบศาสนกิจ ณ เมืองเมกกะประเทศซาอุดิอาระเบีย
ต้องเป็นผู้ที่ประกอบศาสนกิจนอกเนือจากการละมาดการ
ถือศีลอด การบริจาคซะกาต
แนวคิดสาคัญความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพโดยทั่วไป
ห้ามทำแท้ง
การขลิบอวัยวะเพศชาย
การุนฆาตเป็นเรื่องต้อง้าม
การช่วยผู้ป่วยระยะสุดท้าย
การผ่าศพชันสูตรเป็นสิ่งที่ต้อง้าม.
หลังคลอดจะมีการขอรกเอาไรปฝังต้องแจ้งให้ทราบ
การให้บริการทางการแพทย์และพยาบาล
จำกัดการสบตาจ้องผู้ป่วยมากเกินไป
ผู้หญิงมุสลิมจะใส่เสื้อผ้าที่มีการปกคลุมร่างกาย
มุสลิมไม่ให้การรับบริการสุขภาพจากเพศตรงข้าม
ผู้ให้บริการควรเป็นเพศเดียวกับผู้ป่วย
ถ้ามีความจำเป็นต้องให้บริการจากผู้รักษาเพศตรงข้าม
เช่น แพทย์เป็นผู้ชายควรให้สามีของผู้ป่วยเข้าไปปด้วย
การดูแลเรื่องอาหาร
การดูแลอาารเป็นอาาร ฮาลาลไม่มี มูไม่มีแอลกอฮอล์
การดูแลทางจิตวิญญาณ
จัดสถานที่ละ มาด
มีสถานที่ล้างเท้าก่อนทาพิธี รือจัดทาอ่างน้าสา รับอาบเพื่อทาการ
สวดทางศาสนา
การสวดมนต์จะทาวันละ5ครั้ง
ผู้มีข้อจากัดด้านสติปัญญา ผู้หญิง ลังคลอด และ ผู้หญิงที่มีประจาเดือนจะเป็นข้อยกเว้น การสวดมนต์จะไปทางเมืองเมกกะ ( หรือหันหน้าไรปทางทิศตะวันตก)
การดูแลผู้ป่วยระสุดท้าย
1.ลดความเจ็บปวดและอาการไรม่สบายต่างๆ
ยอมรับเรื่องการมีชีวิตและการตายตามบริบทของศาสนาและวัฒนธรรม
บูรณาการมิติทางสังคม จิตใจ และจิตวิญญาณ
ใการสนับสนุนและช่วยเหลือญาติ
มีการทางานเป็นทีมเพื่อการดูแลผู้ป่วยและญาติอย่างมีคุณภาพ
การดูแลผู้ป่วยในระยะสุดท้ายของชีวิตชาวมุสลิม
มุสลิมต้องยอมรับการเจ็บป่วย
. ผู้ป่วยต้องอดทนต่อการเจ็บป่วย
. ผู้ป่วยต้องเอามือตนเองวางบนส่วนที่ตนเจ็บแล้วใ้การละ มาด
4 การขอพรจากพระอัลลอฮ์พร้อมจับมือผู้ป่วยหรือสัมผัส
การส่งเสริมกาลังใจตักเตือนให้เขาระลึกถึงความอดอุ่น
ต้องไม่ตั้งข้อรังเกียจเดียดฉันท์ผู้ป่วยและไรม่แสดงท่าทีรังเกียจ
ข้อแนะนาในการไปเยี่ยมเคารพศพผู้นับถือศาสนาอิสลาม
ความเคารพศพ โดยกล่าวคำไว้อาลัยได้ (ไม่นิยมนำพวง
รีดมาวาง)
ความเชื่อเกี่ยวกับความตายของมุสลิม
พระอัลเลาะฮ์มากที่สุด และเป็น
การดูแลผู้ป่วยลดความทุกข์ทรมาน