Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาหลังคลอดที่มีปัญหาสุขภาพ - Coggle Diagram
การพยาบาลมารดาหลังคลอดที่มีปัญหาสุขภาพ
Plebitis
สาเหตุ
การคั่งของเลือด
การแข็งตัวของเลือดง่ายกว่าปกติ
การบาดเจ็บของหลอดเลือด
ปัจจัยอื่นๆ
มีประวัติการอักเสบของหลอดเลือดดำ
มีเส้นเลือดขอด
เคยผ่าตัดเกี่ยวกับช่องท้อง/อุ้งเชิงกราน
อ้วนมาก
ได้เอสโตรเจนระหว่างคลอด
อาการและอาการแสดง
Superficial
ปวดน่องเล็กน้อย
บวม แดง ร้อน
หลอดเลือดดำแข็ง
Deep
มีไข้ต่ำๆ
ผิวหนังร้อน
มองไม่เห็นหรือคลำไม่ได้
กดหลอดเลือดดำส่วนลึกแล้วเจ็บ
Homan's sign positive
กล้ามเนื้อน่องเกร็ง
ปวดตื้อๆ
น่องหรือขา มีอาการบวม
หลอดเลือดดำที่อุ้งเชิงกราน
มีไข้สูง ขึ้นๆลงๆ มีอาการสั่น
ปวดเมื่อยร่างกาย
ปวดบริเวณท้องส่วนล่าง สีข้าง หรือทั้งสอง
หัวใจเต้นเร็ว หายใจเร็ว
คลื่นไส้อาเจียน
วินิจฉัย
อาการและอาการแสดง
การตรวจ Homans Sign
อัลตราซาวน์
ถ่ายเอกซเรย์หลอดเลือดดำ
การรักษา
ให้ยาต้านการจับตัวเป็นลิ่มเลือด
ยาปฏิชีวนะ แบบครอบจักรวาล
ผ่าตัดในรายที่อาการรุนแรง
ให้ยาแก้ปวด
การพยาบาล
เพื่อป้องกัน
รองผ้าบนขาหยั่ง ไม่ให้น้ำหนักกดลงน่อง
ให้ลุกจากเตียงเร็วหลังคลอด
ลุกไม่ได้ใน8 ชม. ให้บริหารขา
มีเส้นเลือดขอด/มีประวัติการอักเสบ ให้สวมถุงน่อง 2 wks. แรกหลังคลอด
เลี่ยงการนั่งนานๆ การไขว้ห้าง
ให้ลุกเดินทุก 30-60 นาที
เมื่อเกิดแล้ว
นอนพัก ยกขาข้างที่เป็นสูงกว่าระดับหัวใจ
ประคบร้อน(ไม่ร้อนเกินไป) / ไฟส่อง
ไม่นวดบริเวณนน่อง
เลี่ยงการไขว่ห้าง/ไขว้ขา
ใช้ผ้ายืดพันขาส่วนล่างเป็นระยะ
ดื่มน้ำมากๆ อย่างน้อย3-4 ลิตร/วัน
ให้ยาแก้ปวด ยาตามแผนการรักษา
กรณีได้รับยาต้านการแข็งตตัวของเลือด
ตรวจหาการแข็งตัวของเลือดก่อนให้ยา
สังเกตปริมาณเลือดที่ออกตามส่วนต่างๆของร่างกาย
ประเมินปริมาณน้ำคาวปลาทุก4 ชม.
ให้มารดาบีบนมออกทุก 2-3 ชม.
ไม่ให้ยาแอสไพลินแก้ปวด
สังเกตอาการลิ่มเลือดอุดตันที่ปอด
Hematoma การคั่งของเลือดที่แผลฝีเย็บ
อาการและอาการแสดง
ปวดแผลฝีเย็บมาก, ปวดทวารหนัก, ปวดถ่วงช่องคลอด
แผลฝีเย็บบวม ร้อน มีสีม่วงคล้ํา หรือสีเขียวคล้ํา
ปัสสาวะ หรือ อุจจาระลำบาก
อาการกดเจ็บที่ฝีเย็บ
มีก้อนที่แผลฝีเย็บ
สาเหตุของการมีเลือดคั่งใต้ผิวหนัง
ทํา Episiotomy ไม่ดี
บีบคลึงมดลูกรุนแรง
มีการบาดเจ็บจากการคลอด
การวินิจฉัย : ตรวจภายใน ดูตําแหน่ง และขนาดของก้อนเลือดคั่ง จะพบก้อนดันผนังช่องคลอดเข้ามาในช่องคลอด
หรือก้อนเลือดที่คั่งจะดันแผลฝีเย็บให้โป่งนูน
การรักษา
ก้อน > 10cm ขูดออก หรือ หาจุดเลือดออกแล้วเย็บซ่อมแซม
หายได้เอง
การป้องกันการเกิด Hematoma แผลฝีเย็บ
การซ่อมแซมแผลฝีเย็บ
ให้เย็บเข็มแรกเหนือยอดแผลในเยื่อบุช่องคลอดขึ้นไปประมาณ 0.5 ซม.
การตักเข็มเย็บแต่ละครั้งต้องให้ลึกถึงก้นแผล ไม่ให่เกิดช่องว่าง
ตัดฝีเย็บเมื่อจําเป็น
การพยาบาล
ประคบความเย็น วางห่อน้ําแข็งบริเวณฝีเย็บ
ประเมินอาการและอาการแสดงของ Hematoma
ปวดฝีเย็บ,ทวารหนัก,หน่วงช่องคลอด
บวม,ม่วงคล้ำ
การแช่ก้น
ช่วยในการไหลเวียนเลือดให้ดีขึ้น ส่งเสริมการหาย
ของแผล และช่วยให้เนื้อเยื่อหย่อนตัว
ดูแลให้รับประทานยาแก้ปวดและยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์
ประเมินขนาดของก้อนเลือด
แนะนําให้รับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง มีกากใย และดื่มน้ําให้เพียงพอ การรักษาความสะอาด
ของร่างกายและอวัยวะสืบพันธุ์เพื่อส่งเสรมิการหายของแผลและป้องกันอาการท้องผูก
ภาวะผิดปกติทางด้านจิตใจหลังคลอด
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด (Postpartum depression)
สาเหตุ
ฮอร์โมนเปลี่ยนแปลง
ประสบการณ์การคลอดลําบาก
มีประวัติซึมเศร้าหลังคลอด
มีความเครียดทางสังคมและสิ่งแวดล้อม
สัมพันธภาพกับคู่สมรส
ไม่พึงพอใจการตั้งครรภ์
คลอดบุตรเจ็บป่วยหรือพิการ
อาการและอาการแสดง
ไม่สนใจบุคคลอื่น สนใจต่อสิ่งแวดล้อมน้อย
มีความรู้สึกว่าตนเองไร้ค่า
มีความกลัวและวิตกกังวลอย่างรุนแรงเกี่ยวกับตนเองและทารก
ไม่มีสมาธิ ไม่สนใจในกิจกรรมที่เคยชื่นชอบ
มีอาการเศร้า อ่อนเพลีย นอนไม่หลับหรือนอนหลับมากเกินไป
มีความรู้สึกต่อทารกด้านลบ
ร้องไห้ง่าย ไม่สามารถหยุดร้องไห้ได้ อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย เบื่ออาหาร
การรักษา
antidepressant medication
psychotherapy
ให้คําปรึกษาทางจิตเวชแก่มารดาหลังคลอดและสมาชิกของครอบครัว
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าหลังคลอด
การพยาบาล
ดูแลช่วยเหลือและให้คาํแนะนําเกี่ยวกับการเลี้ยงดูบุตร
ประเมินภาวะเสี่ยงของการเกิดภาวะซึมเศร้าหลังคลอด
เปิดโอกาสให้มารดาหลังคลอดได้มีโอกาสซักถามและระบายความรู้สึก
ให้ข้อมูลแก่สามีและญาติว่ามารดาหลังคลอดมีโอกาสเกิดภาวะซึมเศร้าหลังคลอดได้
แนะนําสามีและญาติให้ความสนใจ
ส่งเสริมและให้ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
โรคจิตหลังคลอด (Postpartum psychosis)
อาการและอาการแสดง
นอนไม่หลับ รู้สึกกระสับกระส่าย หงุดหงิด อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย สับสน สมาธิสั้น ตัดสินใจไม่ได้
ซึมเศร้า ท้อแท้มีอาการทางจิต อาจมีหูแว่ว มีเสียงมาสั่ง หลงผิดหวาดระแวง
มีพฤติกรรมที่ผิดปกติไปจากเดิมอย่างมาก
การพยาบาล
เปิดโอกาสให้ระบายความรู้สึก
ประเมินภาวะเสี่ยงของการเกิดภาวะโรคจิตหลังคลอด
เพื่อส่งเสริมสัมพันธภาพ
ระหว่างมารดากับทารก
ส่งเสริมและกระตุ้นมารดาได้ปฏิบัติกิจวัตรประจําวันด้วยตนเอง
ให้กําลังใจต่อสามีและครอบครัว
แนะนําให้สามีและครอบครัวสนใจมารดาหลังคลอดมากกว่าทารก
การส่งเสริมและให้กําลังใจในการแสดงบทบาทการเป็นมารดา
สาเหตุ
มารดามีประวัติเป็นโรคจิตหลังคลอด
หลังคลอดบุตรคนแรก
เคยมีอาการอารมณ์แปรปรวน bipolar disorder
มีบุคคลในครอบครวัป่วยเป็นโรคทางจิตเวช
มีการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน
การรักษา
การรักษาทางจิตใจ โดยการให้คําปรึกษาทางจิตเวช (psychotherapy)
environment therapy
การรักษาทางกาย
antipsychotic drugs
mood stabilizer
antidepreesant
การช็อคไฟฟ้า
อารมณ์เศร้าหลังคลอด (Postpartum Blues หรือ Baby blues หรือ Maternal blues)
อาการและอาการแสดง
อารมณอ่อนไหว รู้สึกเศร้า ร้องไห้โดยไม่ทราบสาเหตุ วิตกกังวลท้อแท้ หงุดหงิด กระสับกระส่าย ไม่ค่อยมีสมาธิ นอนไม่หลับ ปวดศีรษะ รู้สึกเศร้า เหงา อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
มักพบใน 10 วัน
แรกหลังคลอด
การพยาบาล
ส่งเสริมความมั่นใจในการดูแลทารก
ส่งเสริมให้สามีและครอบครัวคอยให้กําลังใจ
เปิดโอกาสให้มารดาระบายความรู้สึก
มีการประเมินติดตามและเฝ้าระวังอาการ
สาเหตุ
การเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมน
มีความเครียดทางจิตใจในระยะหลังคลอด
การตั้งครรภ์และการคลอด
ความเครียดจากสังคมและสิ่งแวดล้อม
หญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น
การติดเชื้อหลังคลอด
สาเหตุของการติดเชื้อหลังคลอด
มักเป็นเชื้อแบคทีเรียที่อยู่ในลําไส้ บริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ ช่องคลอดและปากมดลูก
อาจเกิดจากเชื้อแบคทีเรียจากนอกร่างกายที่เข้าสู่
ร่างกายในระหว่างรอคลอดและระยะคลอด โดยผ่านทางการตรวจช่องคลอด
ปัจจัยส่งเสริมที่ทําให้เกิดการติดเชื้อภายหลังคลอด
ถุงน้ําคร่ําแตกเป็นระยะเวลานาน
รกค้าง การล้วงรก มีเศษรกและเยื่อหุ้มทารกค้าง
การผ่าตัดคลอด จะมีการติดเชื้อของมดลูกมากกว่าคลอดทางช่องคลอด
การบาดเจ็บจากช่องทางคลอด
เคยมีประวัติการติดเชื้อภายหลังคลอดมาก่อน
มีโรคประจําตัว เช่น เบาหวาน โลหิตจาง
มดลูกอักเสบหรือการอักเสบของเยื่อบุโพรงมดลูก
การพยาบาล
แนะนําให้นอนคว่ํา ใช้หมอนรองบริเวณท้องน้อย เพื่อให้น้ําคาวปลาไหลสะดวก
จัดให้นอนท่า Fowler’ s position เพื่อส่งเสริมการไหลของนํ้าคาวปลา
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกอย่างน้อยทุก 8 ชั่วโมง
ประเมินสัญญาณชีพและสังเกตอาการเปลี่ยนแปลง
ดูแลให้ได้รับยาบรรเทาปวดตามแผนการรักษา
การวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เม็ดเลือดขาวมักจะขึ้นสูง 15,000-30,000 เซลล์/ลบ.มม.
อาการและอาการแสดง และจากการตรวจร่างกายข้างต้น
การรักษา
ให้ยาลดไข้ในกรณีที่มีอุณหภูมิของร่างกายสูงกว่า 38.5 องศาเซลเซียส
ขูดมดลูก กรณีมีเศษรกค้าง
ให้ยาแก้ปวด ในกรณีที่ปวดมดลูกมาก
ให้ยาปฏิชีวนะ ให้ทางหลอดเลือดดําหรือทางปากตามแผนการรักษาของแพทย์
ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
อาการและอาการแสดง
ปวดท้องน้อย ปวดมากบรเิวณมดลูก และปากมดลูก มดลูกกดเจ็บ
ขนาดของมดลูกไม่เล็กลง มดลูกไม่ลดลงต่ํากว่าระดับสะดือ
ชีพจรเรว็ หัวใจเต้นเร็ว ชีพจรเร็วสัมพันธ์กับอุณหภูมิ
น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น
มีไข้สุงแบบฟันเลื่อยระหว่าง 38.5-40 องศา มีอาการหนาวสั่น
สาเหตุ
การผ่าตัดที่มดลูก
การเจ็บครรภ์คลอดที่ยาวนาน
ถุงน้ําคร่ําแตกก่อนเจ็บครรภ์จริง
การตรวจภายใน
การตรวจ Internal electrical monitoring
การติดเชื้อของแผลฝีเย็บ และการติดเชื้อของแผล
ผ่าตัดบริเวณหน้าท้อง
สาเหตุ
จากปัจจัยเสริม มารดาอ้วน มารดาไม่แข็งแรง มีภูมิต้านทานโรคต่ํา
เกิดจากการปนเปื้อนของแบคทีเรียขณะคลอด
อาการและอาการแสดง
มีซีรั่มปนหนอง (seropurulent discharge) ออกบริเวณฝีเย็บหรือหน้าท้อง
มีการแยกของแผลฝีเย็บหรือแผลหน้าท้อง และมีหนองตามมา
มีอาการเจ็บปวดบริเวณที่มีการติดเชื้อ
การติดเชื้อที่แผลฝีเย็บอาจมีอาการถ่ายปัสสาวะแสบ
บรเิวณที่มีการติดเชื้อมีอาการบวม แดง ร้อน กดเจ็บ
การวินิจฉัย
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
2.1 ผลการตรวจเลือดอาจพบเม็ดเลือดขาวสูงขึ้น
2.2 ผลการเพาะหาเชื้อจากหนองหรือของเหลวจากแผล
อาการและอาการแสดง
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะ แพทย์อาจให้ยาปฏิชีวนะแบบครอบจักรวาล
ในรายที่แผลมีหนอง ถอดไหมที่เย็บแผลออก เป็ดแผลให้กว้างขึ้น เพื่อให้หนองไหลออกได้สะดวก
ให้ยาแก้ปวด ในรายที่มีอาการปวดแผล
ให้ hot sith bath วันละหลายครั้ง ด้วยน้ําผสมด่างทับทิม หรือน้ําเกลือ และอบแผล
การติดเชื้อที่แผลฝีย็บ ใส่สายสวนปัสสาวะในกรณีที่ปัสสาวะลําบาก
การพยาบาล
ควรทําความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์
ภายนอกและแผลฝเย็บดวยน้ํายาฆาเชื้อยางนอยวันละ 2 คร้งั
แนะนํามารดาหลังคลอดให้เปลี่ยนผ้าอนามัยบ่อยๆ เมื่อชุ่ม
ให้ทําแผลด้วยหลักการปราศเชื้อ วันละ 2 ครั้ง ถ้า
พบว่ามีเลือดหนอง มีกลิ่นเหม็นเน่าควรแจ้งให้แพทย์ทราบทันที
เมื่อแผลตดิดีขึ้นความเจ็บปวดน้อยลง ให้นั่งแช่ก้น (sitz bath) ด้วยน้ําละลายด่างทับทิมวันละ 2-3
ครั้งๆ ละ 10-15 นาที เพื่อให้หนองไหลได้ดีและบริเวณนั้นสะอาด
ติดตามประเมินแผลฝีเย็บหรือแผลผ่าตัดทุกวันด้วยวิธี REEDA
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ ตามแผนการรักษาของแพทย์