Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 ยาต้านโรคมะเร็ง และยากดภูมิคุ้มกัน - Coggle Diagram
บทที่ 3 ยาต้านโรคมะเร็ง
และยากดภูมิคุ้มกัน
ยากดภูมิคุ้มกัน (Immunosuppressive agents)
[1] กลุ่มออกฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ Calcineurin inhibitors
{1.1} Cyclosporin (CsA)
การนำไปใช้ทางคลินิก = ใช้ป้องกันและรักษา acute graft rejection ในผู้ป่วยปลูกถ่ายไต
กลไกการออกฤทธิ์ = ยับยั้งเอนไซม์ calcineeurin ส่งผลการสร้างและการหลั่ง IL-2 จาก T-cell
{1.2} Tacrolimus (FK506)
กลไกการออกฤทธิ์ = ออกฤทธิ์เหมือนกับ cyclosporin
การนำไปใช้ทางคลินิก = ใช้รักษาผู้ป่วยที่ได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะ
[2] กลุ่มยาที่มีพิษต่อเซลล์ (Cytotoxic agents)
{2.1} Azathioprine (Imuran)
กลไกการออกฤทธิ์ = ยับยั้งการสร้าง DNA RNA และโปรตีน มีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ต่างๆในการสร้างสารพิวรีน
การนำไปใช้ทางคลินิก = ยารักษาโรคภูมิคุ้มกันตัวเอง โรคข้ออักเสบที่รุนแรงไม่ตอบสนองต่อยาอื่น
{2.2} Mycophenolate mofetil
กลไกการออกฤทธิ์ = มีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ inosine monophophate dehydrogenase ส่งผลยับยั้งแบบอย่างการสร้าง DNA RNA และโปรตีน
การนำไปใช้ทางคลินิก = ใช้ป้องกันและรักษาการปฏิเสธการปลูกถ่ายอวัยวะแบบเฉียบพลัน
{2.3} Sirolomus Everolimus
กลไกการออกฤทธิ์ = ยับยั้งการทำงานของ mammalian target of rapamycin ยับยั้งการเจริญเติบโตและแบ่งตัวของ T-cell
การนำไปใช้ทางคลินิก = ใช้ป้องกันและรักษาการปฏิเสธการปลูกถ่ายอวัยวะแบบเฉียบพลัน
{2.4} Leflunomide
กลไกการออกฤทธิ์ = ยับยั้งการสังเคราะห์ pyrimidine ส่งผลให้การสังเคราะห์และสร้าง DNA กับ RNA ถูกยับยั้ง
การนำไปใช้ทางคลินิก = รักษาโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์
[3] ยากลุ่ม Adrenocorticoids
การนำไปใช้ทางคลินิก = ใช้รักษาอาการแสดงของโรคภูมิคุ้มกัน เช่น โรคแพ้ภูมิตัวตนเองโดยใช้ร่วมกับยากดภูมิชนิดอื่น เพื่อป้องกันและรักษาการต้านเนื้อเยื่อจากการปลูกอวัยวะ
อาการข้างเคียง = น้ำหนักตัวเพิ่ม หน้ากลมคล้ายพระจันทร์ มีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย มีอารมณ์แปรปรวนง่าย เยื่อบุกระเพาะอาหารบางลงและเพิ่มการหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร
กลไกการออกฤทธิ์ = คุมการทำงานของยีน โดยการจับ steroid receptor ไปออกฤทธิ์ที่นิวเคลียสโดยการยับยั้งการสร้าง mRNA
[4] กลุ่มสารยับยั้ง Cytokines
{4.3} Anti-TNF-Alpha Antibody
กลไกการออกฤทธิ์ = เป็น antibodies ที่จับกับ TNF-Alpha ซึ่งเป็น cytokine ที่เหนี่ยวนำให้เกิดการอักเสบ
การนำไปใช้ทางคลินิก = ใช้ในการรักษาโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์
{4.4} Anti-IgG mAbs
กลไกการออกฤทธิ์ = ยาจะไปปิดกั้นการจับของ IgE กับ Fc receptor ส่งผลให้ลดการหลั่งสารที่ก่อให้เกิดการแพ้แบบ hypersensitivity ชนิดที่ 1
การนำไปใช้ทางคลินิก = ใช้รักษาโรคหอบหืดที่เกิดจากภูมิแพ้
{4.2} Anti-CD2
กลไกการออกฤทธิ์ = การจับกับ CD2 บนผิวของ T-cell ทำให้ลดการแบ่งตัวลงและถูกยับยั้งการกระตุ้น T-cell
การนำไปใช้ทางคลินิก = ใช้รักษาโรคสะเก็ดเงิน
{4.5} Anti-lymphocyte globulin (ATG)
การนำไปใช้ทางคลินิก = ใช้รักษาภาวะปฏิเสธการปลูกถ่ายไตแบบเฉียบพลัน
กลไกการออกฤทธิ์ = ยาออกฤทธิ์โดยการจับกับโมเลกุลบนพื้นผิว T-cell ทำให้ลดการแบ่งตัว ยับยั้งการกระตุ้นและเกิดการทำลาย T-cell
{4.1} Anti-IL2 receptor antibody
กลไกการออกฤทธิ์ = ออกฤทธิ์ยับยั้งการกระตุ้น lymphocyte ด้วย IL-2 ที่เป็น pathway สำคัญในการกระตุ้นภูมิคุ้มกัน ที่ทำให้เกิดการปฏิเสธการปลูกถ่ายอวัยวะแบบเฉียบพลัน
การนำไปใช้ทางคลินิก = ใช้ในผู้ป่วยที่มีการปลูกถ่ายไตเพื่อป้องกันการปฏิเสธอวัยวะปลูกถ่าย
ยาต้านโรงมะเร็ง (Antineoplastic drugs)
[2] ยากลุ่ม Antimetabolites agents
{2.1} Antifolate/Folate antagonist
2.1.1)) Methotrexate(MTX)
กลไกการออกฤทธิ์ = เป็นยาต้านโฟเลตที่ออกฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ dihydrofolate reductase ที่เปลี่ยนเป็น dihydrofolate ไปเป็น tetrahydrofolate ที่เป็น cofactor ใช้เป็นสารตั้งต้นของ DNA RNA และโปรตีน
การนำไปใช้ทางคลินิก = ยารักษามะเร็งรก มะเร็งที่ศีรษะและคอ มะเร็งปอด เม็ดเลือดขาวชนิด aute lymphotic
2.1.2)) Pemetrexed
กลไกการออกฤทธิ์ =เป็นยาต้านโฟเลตตัวใหม่ เมื่อยาเข้าสู่ร่างกายจะถูก metabolite ให้กลายเป็นสารที่มีฤทธิ์ยับยั้งการสร้างและสังเคราะห์อาร์เอ็นเอ DNA RNA และโปรตีน
การนำไปใช้ทางคลินิก = รักษามะเร็งปอดมะเร็งตับอ่อน
ผลข้างเคียงจากยา
จำนวนเม็ดเลือดขาวลดลงจึงทำให้ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการติดเชื้อมากขึ้น
อาจทำให้แท้งและเด็กในครรภ์พิการได้
มีการระคายเคืองต่อระบบทางเดินอาหารอยากมาก
เกิดอาการ folate deficiency ในเซลล์ผิดปกติ แก้ไขโดยการให้ Leucovorin ร่วมด้วย
{2.2} Purine analogs
2.2.1)) ยา 6-Mercaptopurine (6-MP)
กลไกการออกฤทธิ์ = ยับยั้งการสร้างเอนไซม์หลายตัวที่เกี่ยวข้องกับการสร้าง purine ที่ถูกนำมาใช้ในการสังเคราะห์กรดนิวคลีอิก ทำให้ไม่สามารถสร้างและสังเคราะห์ RNA และ DNA ได้
การนำไปใช้ทางคลินิก = ใช้รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิด ALL และ AML หรือ ANLL
2.2.2)) ยา 6-Thioguanine (6-TG)
กลไกการออกฤทธิ์ = คล้ายกับ 6-MP
การนำไปใช้ทางคลินิก ใช้รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิด AML หรือ ANLL
2.2.3)) ยา Fludarabine
กลไกการออกฤทธิ์ = เข้าไปแทรกกระบวนการเชื่อมจากของสาย DNA เกิดการยับยั้งการสร้าง DNA
การนำไปใช้ทางคลินิก = เป็นยาฉีดทางหลอดเลือดดำ รักษามะเร็งต่อมน้ำเหลืองที่ไม่รุนแรง
ผลข้างเคียงจากยา
มีแผลในปากริมฝีปากบรรเทาอาการด้วยการอมน้ำแข็ง รักษาช่องปากให้สะอาดด้วยการแปรงฟันที่มีขนอ่อนนุ่ม
พิษต่อตับและรบกวนระบบทางเดินอาหาร
{2.3} Pyrimdine analods
2.3.1)) 5-Fluorouracil (5-FU)
กลไกการออกฤทธิ์ = ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ thymidylate synthase ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่จำเป็นในการสังเคราะห์ DNA และ RNA
การนำไปใช้ทางคลินิก = รักษามะเร็งเต้านม
2.3.2)) Capectibine
กลไกการออกฤทธิ์ = คล้ายกับ 5-FU
การนำไปใช้ทางคลินิก = เป็นยาชนิดเม็ดรับประทาน ใช้รักษาเพื่อบรรเทาอาการ ในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่แพร่กระจายไปแล้ว
2.3.3)) Cytarabine
การนำไปใช้ทางคลินิก = เป็นยาฉีดทางหลอดเลือดดำ นิยมใช้หยดแบบช้าๆ เป็นเวลา 5-7 วัน ใช้รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิด AML
กลไกการออกฤทธิ์ = ยาจะไปเติมหมู่ฟอสเฟต ทำให้เกิดการยับยั้งการเชื่อมต่อของสาย DNA
2.3.4)) Gemcitabine
การนำไปใช้ทางคลินิก = ยารักษามะเร็งตับที่แพร่กระจายไปแล้ว
กลไกการออกฤทธิ์ = ยาจะถูกกระตุ้นให้มีการเติมหมู่ฟอสเฟต จะเข้าไปช่วยกระบวนการเชื่อมจับของสาย DNA เกิดการยับยั้งการสร้าง DNA
ผลข้างเคียงจากยา
มีการลอกของฝ่ามือและฝ่าเท้า เมื่อใช้ยาติดต่อกันเป็นเวลานาน
ผิวจะถูกแสงแดดเผาได้ง่าย
มีการกดการทำงานของไขกระดูก
[6] ยากลุ่มอื่นๆ (Enzyme and Adrenlytic)
{6.1} Mococlonal antibodies
6.1.1)) Trastuzamab (Herceptin)
ใช้รักษามะเร็งเต้านมที่แพร่กระจายไปแล้ว
6.1.3)) Cetuximab (Erbitux)
ใช้รักษามะเร็งบริเวณศีรษะและลำคอ
6.1.4)) Alemtuzamab (Campath)
ใช้รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิด B-cell chronic lymphocytic
6.1.2)) Rituximab (Rituxan)
ใช้รักษามะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิด B-cell lymphoma
{6.2} Small molecules
6.2.2)) Dasatinub (Sprycel)
ใช้รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิด chronic myeloid leukemia
6.2.3)) Nilotinib (Tasigna)
ใช้รักษา chronic myeloid leukemia และ มะเร็งที่ดื้อยา Imatinib ได้
6.2.1)) Imatinib (Gleevec)
ใช้รักษามะเร็งลำไส้และ มะเร็งเม็ดเลือดขาว
ผลข้างเคียงของยา มีของเหลวข้างในร่างกายเป็นจำนวนมาก มีพิษต่อตับ ทำให้เกล็ดเลือดต่ำและเลือดออกง่ายมีอาการบวมน้ำ
[4] ยากลุ่มสารสกัดจากพืชธรรมชาติ (Natural and Semi-synthetic products)
{4.1} ยากลุ่ม vinca alkaloids ยาไปจับกับโปรตีน tubulin ทำให้ยับยั้งการประกอบ microtubules เซลล์หยุดการเจริญเติบโตในระยะ metaphase
4.1.1)) vincristine ใช้รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาว
4.1.2)) vinblastine ใช้รักษามะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิด Hodgkin’s และ non-Hofgkin lymphoma
4.1.3)) vinorelbine ใช้รักษา non-small cell lung cancer และมะเร็งเต้านม
ผลข้างเคียงของยา = มีอาการชาตามปลายมือปลายเท้า เดินเซ และอาจทำให้กล้ามเนื้อลีบ
{4.2} ยากลุ่ม tanxanes ยาไปจับกับ beta-tubulin ทำให้เพิ่มการก่อตัวเป็น microtubules ทำให้การแบ่งเซลล์ไม่สมบูรณ์และหยุดชะงักที่ระยะ Anaphase
ใช้รักษามะเร็งเต้านมมะเร็งรังไข่สามารถใช้ร่วมกับsteroids ในการรักษามะเร็งต่อมลูกหมากระยะแพร่กระจายและดื้อยา
ผลข้างเคียงของยา การกดไขกระดูก ถ้าใช้ Paclitaxel หลายครั้งอาจทำให้เกิดภาวะคั่งน้ำในร่างกาย
[1] ยากลุ่ม Alkylating agents
{1.1} Cyclophosphamide
กลไกการออกฤทธิ์ = เมื่อยาเข้าสู่ร่างกายจะถูกเปลี่ยนแปลงโดย CYP450 ให้กลายเป็น phosphoramide mustard แทรกเข้าทาง DNA กระตุ้นให้เกิดการตายของเซลล์มะเร็ง
การนำไปใช้ทางคลินิก = ใช้รักษามะเร็งรังไข่ เต้านม และมะเร็งต่อมน้ำเหลือง เป็นต้น
{1.2} Ifosfamide (Holoxan ; IFOS)
กลไกการออกฤทธิ์ = เหมือนกับ Cyclophosphamide
การนำไปใช้ทางคลินิก = ใช้รักษามะเร็งต่อมน้ำเหลือง มะเร็งเนื้อเยื่ออ่อน เช่น กระดูก กระดูกอ่อนและหลอดเลือด เป็นต้น
{1.3} Chlorambucil
กลไกการออกฤทธิ์ = เข้าไปแทรกการเชื่อมจากของสาย DNA แบบ cross-linking ส่งผลทำให้เซลล์มะเร็ง ไม่สามารถสร้างหรือแบ่งตัวได้ และทำให้เซลล์ตาย
การนำไปใช้ทางคลินิก = เป็นยามาตรฐานในการรักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเรื้อรังมะเร็ง ต่อมน้ำเหลืองชนิด follicular
{1.4} Carmustine
กลไกการออกฤทธิ์ = ทำให้เกิดหมู่ Alkyl ไปจับกับสายของ DNA ส่งผลทำให้ดีเอ็นเอทำให้เซลล์มะเร็งแต่งตัวให้ได้เกิด DNA strand break และทำให้เซลล์ตาย
การนำไปใช้ทางคลินิก = รักษามะเร็งสมอง
{1.5} Dacarbazine
กลไกการออกฤทธิ์ = เมื่อยาเข้าสู่ร่างกายเปลี่ยนแปลงโดย CYP450 ให้กลายเป็นสารที่มีพิษต่อการสร้าง DNA และ RNA ของเซลล์มะเร็ง
การนำไปใช้ทางคลินิก = เป็นยาฉีดเข้าหลอดเลือดดำใช้ในการรักษามะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิด Hodgkin’s lymphomaและมะเร็งผิวหนัง
{1.6} Cisplatin ,Carboplatin
กลไกการออกฤทธิ์ = เข้าไปแทรกกันเพิ่มจากของสร้าง DNA ทำให้เกิดการยับยั้งขบวนการ DNA replication และ DNA transcription
การนำไปใช้ทางคลินิก = เป็นยาฉีดทางหลอดเลือดดำหรือฉีดเข้าช่องท้องใช้ในการรักษามะเร็งอัณฑะ มะเร็งรังไข่ มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ มะเร็งปอด และมะเร็งทางเดินอาหาร
{1.7} Busulfan (Myleran)
กลไกการออกฤทธิ์ = เข้าไปแทรกการเชื่อมจับของสาย DNA แบบ cross-linkingทำให้เซลล์มะเร็งไม่สามารถสร้างอยู่แบ่งตัวได้และเซลล์ตายในที่สุด
การนำไปใช้ทางคลินิก = รักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวบางชนิด ใช้ร่วมกับยาเคมีบำบัดอื่น ก่อนได้รับการปลูกถ่ายไขกระดูก
{1.8} Mechlorethamine (Mustargen, Mustine)
กลไกการออกฤทธิ์ =เข้าไปแทรกกันเพิ่มจากของสร้าง DNA ทำให้เกิดการยับยั้งขบวนการ DNA replication และ DNA transcription
การนำไปใช้ทางคลินิก = เดิมใช้รักษามะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิด Hodgkin’s lymphoma
ผลข้างเคียงจากยากลุ่ม Alkylating agents
ทำให้คลื่นไส้อาเจียนมีแผลในปาก มีอาการเบื่ออาหาร
ผิวหนังมีสีคล้ำ โดยเฉพาะบริเวณขาหนีบ เอว และรักแร้
ทำให้เกิดการกดการทำงานของกระดูก มีจำนวนเม็ดเลือดขาวต่ำ เม็ดเลือดแดงต่่ำ และมีเกล็ดเลือดต่ำ
[5] ยากลุ่มฮอร์โมน (Hormone and Hormone antagonists)
{5.1} ยากลุ่มสเตียรอยด์ Glucocorticoids ได้แก่ Prednisolone, Prednisone และ Hydeocortisone
ผลข้างเคียงของยา = มีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย น้ำตาลในเลือดสูง โรคกระดูกพรุน โรคแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้
การนำไปใช้ทางคลินิก = ใช้รักษามะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิด Hodgkin’s และ non-Hofgkin lymphoma
{5.2} ยาฮอร์โมนเอสโตรเจน Antiestrogens ได้แก่ Toremifene, Tamoxifen และ Raloxifene
การนำไปใช้ทางคลินิก
Toremifene รักษามะเร็งเต้านม
Tamoxifen เป็นตัวเลือกแรกในการรักษามะเร็งเต้านม
Raloxifene ใช้ป้องกันการเกิดมะเร็งโรคกระดูกพรุน
ผลข้างเคียงของยา = ร้อนวูบวาบ มีเลือดประจำเดือนผิดปกติ ใช้ในระยะยาวเสี่ยงต่อการเกิดลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือด
{5.3} ยาออกฤทธิ์ต้านฮอร์โมน Androgen ได้แก่ Goserelin Leuprolide และ Abarelix
ผลข้างเคียงของยา = มีกลูโคสในเลือดสูง มีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย
การนำไปใช้ทางคลินิก = ร้อนวูบวาบ เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
{5.4} ยาฮอร์โมนโปรเจสติน (Progestins) ได้แก่ Megestol acetate เป็น progesterone สังเคราะห์
ผลข้างเคียงของยา = การเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจอุดตัน
การนำไปใช้ทางคลินิก = ยารักษามะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูก มะเร็งเต้านมและมะเร็งไต
[3] ยากลุ่ม Anticancer antibiotics
{3.2} doxorubicin DOX
กลไกการออกฤทธิ์ ยับยั้ง topoisomerase 2 แทรกไปอยู่ระหว่าง DNA base pairs ปิดกั้นการสังเคราะห์ DNA และ RNA
การนำไปใช้ทางคลินิก รักษามะเร็งต่อมน้ำเหลือง มะเร็งเต้านม มะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูก มะเร็งรังไข่ เป็นต้น
{3.3} blemycin
กลไกการออกฤทธิ์ ออกฤทธิ์โดยการจับกับธาตุเหล็ก ซึ่งทำปฏิกิริยากับออกซิเจนได้อนุมูลอิสระ ทำให้เกิดการแตกสลายของ DNA และสอดแทรกในสาย DNA มีผลต่อเซลล์ระยะ G2
การนำไปใช้ทางคลินิก ใช้ในการรักษามะเร็งอัณฑะ และมะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิด Hodgkin’s และ non-Hodgkin lymphoma
{3.1} Dactinomycin หรือ Actinomycin D
กลไกการออกฤทธิ์ เข้าไปในสาย DNA เพื่อยับยั้งการสร้าง DNA
การนำไปใช้ทางคลินิก ใช้ในการรักษา wilm’s tumor แนะนำเอ็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันในเด็ก
{3.4} Mitomycin
กลไกการออกฤทธิ์ ยาถูกเปลี่ยนแปลงในเซลล์เป็นสาร Alkylating agents ที่มีฤทธิ์แรงมากทำให้เกิดสะพานในสาย DNA มีผลยับยั้งการสังเคราะห์ DNA
การนำไปใช้ทางคลินิก ใช้รักษามะเร็งปากมดลูก
ผลข้างเคียงของยา
ยา Blemycin มีพิษต่อปอด ทำให้เกิดการอักเสบและมีพังผืด
ยา Doxorubicin มีพิษต่อหัวใจ
ยา Mitomycin ก่อให้เกิดความเป็นพิษต่อไตและเกิดพังผืดในปอด
[7] ยากลุ่มอื่นๆ
(Other anticancer agents)
{7.1} ASparaginase
ใช้ในการรักษา ALL ในเด็กโดยใช้ร่วมกับ Vincristine และ Prednisone
อาการข้างเคียง = อาจเกิดการแพ้ที่รุนแรงแล้วทำให้เสียชีวิตได้
{7.2} Mitotane
อาการข้างเคียง = ทำให้เกิดอาการซึมเศร้า มึนศีรษะ มีผื่น
ใช้รักษามะเร็งต่อมหมวกไตชั้นนอก