Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาอิสลาม - Coggle…
บทที่ 4 การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
พระคัมภีร์ของศาสนาอิสลาม คือ อัลกุรอาน
ผู้นับถือศาสนาอิสลามคือมุสลิมเป็นภาษาอาหรับแปลว่าผู้ที่นอบน้อมยอมจำนนนต่อข้อบัญญัติพระอัลลอฮ์
ศาสดาของศาสนาอิสลามคือนบีมูฮัมหมัด
“อิสลาม” แปลว่า การยอมจำนน การปฏิบัติตาม และการนอบน้อม (ต่อพระเจ้าคือ พระอัลลอฮ์)
มีผู้นับถือมากเป็นอันดับสอง...รองจาก ศาสนาคริสต์
ศาสนสถานของชาวมุสลิมคือ มัสยิด หรือ สุเหร่า (แปลว่าสถานที่กราบ) เป็นที่ปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนา เป็นโรงเรียนเป็นที่พบปะชุมนุมทำบุญเลี้ยงฉลองจัดพิธีมงคลสมรสสถานที่พักพิงของผู้ไร้ที่พำนัก
ศาสนาอิสลามมีต้นกำเหนิดที่ประเทศซาอุดิอาราเบีย
หลักปฏิบัติหน้าที่ในศาสนา เรียกว่า อิบาดะห์
3.การถือศีลอด
4.การบริจาคศาสนทานซะกาต
2.การละหมาด หรือ สวด (นมาซ หรือ นมัสการ) 5เวลาต่อวัน
3) เวลาเย็น
4) เวลาพลบค่ำ
2) เวลากลางวัน
1) เวลาย่ำรุ่ง
5) เวลากลางคืน
5.การประกอบพิธีฮัจญ์
1.การปฏิญาณตนเข้ารับนับถือศาสนาอิสลาม
พิธีสุหนัต
จะมีการเชิญญาติพี่น้องอย่างน้อย2-3 คน มาร่วมเป็นสักขีพยาน
จะมีการสวมพวงมาลัยให้เด็กก่อนแล้วจึงผ่าหรือตัดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ เสร็จแล้วให้ของขวัญแก่เด็ก
การตัดหนังหุ้มปลายองคชาติซึ่งถือว่าเป็นหน้าที่และเป็นสิ่งควรสรรเสริญทั้งเป็นธรรมเนียมเบื้องต้นเพื่อประโยชน์สำหรับการแต่งงาน
ปัจจุบันนี้เมื่อไรปคลอดที่โรงพยาบาลอาจจะให้แพทย์ที่ทำคลอดทารกเพศชายตัดหนังหุ้มปลายองคชาตของทารกนั้นเป็นการทำพิธีสุหนัตด้วยเลยก็ได้
เด็กชายมุสลิมอายุระหว่าง 2-10 ขวบ จะต้องไรด้รับพิธีสุหนัต
หลักการอันเป็นข้อบังคับสาหรับมุสลิมทุกคนจะต้องรู้จะต้องประพฤติ เริ่มตั้งแต่อายุ3ขวบเป็นต้นไป
2.หลักปฏิบัติหน้าที่ในศาสนา(อิบาดะห์)
3.หลักคุณธรรม (อิห์ซาน)
1.หลักศรัทธาความเชื่อในศาสนา
4.ทุกคนต้องเรียนรู้หลักการของศาสนาอิสลาม
ไม่มีขอยกเว้นเป็นหน้าที่พึงปฏิบัติ
พิธีถือศีลอด
เป็นการอดอาหารการดื่มกินและเว้นการร่วมประเวณีและการทำชั่วต่างๆอย่างเคร่งครัดเป็นพิเศษในช่วงถือศีลอด
มุสลิมทุกคนควรจะไรด้ถือปฏิบัติกันโดยเคร่งครัด
(ยกเว้นผู้ป่วย/ มีประจำเดือน / สตรีมีครรภ์)
เป็นพิธีกรรมอย่างหนึ่งที่ชาวมุสลิมปฏิบัติ
ในเดือนรอมฎอนตลอด 1เดือน
สัญญลักษณ์ของศาสนาอิสลามรูปพระจันทร์
ครึ่งเสี้ยวและดาวอยู่ข้างบน
ดาว
เครื่องหมายนาทางบอกทิศเมื่อมนุษย์ต้องเดินทางกลางทะเล หรือทะเลทราย ชาวอาหรับสมัยก่อนเดินทางตอนกลางคืนเพราะกลางวัน อากาศกลางทะเลทรายจะร้อนมาก
เดือนครึ่งเสี้ยว
เครื่องหมายของกาลเวลาเดือนส่งผลถึงระดับน้ำขึ้นลงที่แตกต่างกันเดือนคือการกำหนดเวลาเริ่มต้นของเดือนใหม่และสิ้นสุดเดือนเก่า เดือนคือเวลาที่ผ่านไปที่มนุษย์ต้องใคร่ครวญถึงการกระทำของตนเอง สัญลักษณ์รูปเดือนครึ่งเสี้ยวสาคัญที่สุดจะเป็นศิริมงคลที่สุดของมุสลิมคือใน
เดือนรอมฎอน
การถือศีลอด
เป็นการเพิ่มพูนภูมิต้านทานแก่ร่างกายทำให้ร่างกายเคยชินกับความหิว และการรับประทานอาหารตรงตามเวลาใน 24 ชั่วโมง
ผู้ถือศีลอดจะรับประทานอาหารสองมื้อคือมื้อตอนดึกถึงก่อนฟ้ารุ่งสาง และมื้อค่ำตอนเมื่ออาทิตย์ลับขอบฟ้า
เป็นการอดอาหารในช่วงเวลาที่ถูกกำหนดไว้อย่างตายตัวนั้นจะทำให้ร่างกายได้ละลายส่วนเกินของไขมันที่สะสมเอาไว้
การถือศีลอดทำให้เกิดการประหยัดทั้งอาหารของโลก
และสิ่งฟุ่มเฟือยสิ่งต่างๆ
เป็นการฝึกฝนให้ตัวเองมีจิตผูกพันและยำเกรงต่อพระเจ้าเพื่อการดำเนินชีวิตในทุกด้านตามคำบัญชาของพระองค์
หลักศรัทธาของศาสนาอิสลาม
ศรัทธาในบรรดาศาสนทูตหรือศาสดาซึ่งมี 258 ท่านที่ระบุไว้ในพระคัมภีร์อัลกุรอาน
ศรัทธาในพระคัมภีร์อัลกุรอานและมีคัมภีร์อื่นๆเช่นนบีดาวูด
(ดาวิด)นบีมูซา(โมเสส) นบีอีซา (เยซู)
*
ศรัทธาในมลาอิกะฮ์ คือบ่าวผู้สัตย์ซื่อของพระอัลลอฮ์ไม่มีรูปกายไม่มีเพศ ไม่มีการดำเนินชีวิตเหมือนมนุษย์เป็นสื่อกลางระหว่างพระอัลลอฮ์กับมนุษย์
ศรัทธาในวันกียามะฮ์หรือ วันปรโลก วันคืนชีพ หลังจากวันสิ้นโลก มนุษย์ทุกคนรอวันตัดสินชำระความ
1.ศรัทธาในพระเจ้าเป็นฐาน ต้องเชื่อมั่นและศรัทธาในพระเจ้า คือ พระอัลลอฮ์ อย่างไม่มีข้อสงสัย พระเจ้าทรงเป็นผู้อยู่ก่อนสรรพสิ่งทั้งปวงทรงเป็นผู้สร้างทุกสิ่งในเอกภพพระเจ้าสร้างอดัม(อิสลามเรียกท่านนบีอาดัม)
ศรัทธาในการลิขิตขององค์พระผู้เป็นเจ้า
“ซะกาต”
การบริจาคศาสนทาน “ซะกาต”
เพื่อผดุงสังคมลดปัญหาช่องว่างระหว่างคนรวยและคนจน
เป็นหน้าที่ของมุสลิมทุกคนถ้ามุสลิมคนใดมีทรัพย์สินเงินทองหรือสินแร่ที่เหลือใช้ในรอบปีแล้วไม่ทำการบริจาคผู้นั้นเป็นบุคคลหนึ่งที่ทำผิดบทบัญญัติของอิสลาม
การบริจาคซะกาต (การจ่ายภาษีทางศาสนาแก่คนยากจน) คือ
การจ่ายทรัพย์สินส่วนเกินจานวนหนึ่งที่มุสลิมต้องจ่ายให้แก่
ผู้มีสิทธิ์ไรด้รับเมื่อครบปี
ผู้มีสิทธิรับซะกาต 8 ประเภทคือผู้ขัดสน(คนยากจนแม่หม้าย เด็กพร้า) คนเข็ญใจ (พิการ) ผู้เข้าอิสลามและถูกญาติมิตรตัดขาดผู้มีหนี้สินล้นตัว(ไม่ใช่มีหนี้เพราะประพฤติมิชอบ) ผู้พลัดถิ่น(ไม่สามารถกลับสู่ภูมิลาเนาเดิม) ทาสหรือเชลยเจ้าหน้าที่ดูแลกองทุนซะกาตและเพื่อประโยชน์ต่อสังคมในวิถีของพระอัลลอฮ์ (เสาวนีย์, 2535)
วัตถุประสงค์ของการบริจาคซะกาต
2) เพื่อปลูกฝังให้มุสลิมทั้งหลายเป็นผู้มีจิตใจเมตตากรุณา
เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ซึ่งกันและกัน
3) เพื่อลดช่องว่างระหว่างชนชั้นในสังคมด้วยวิธีการสังคมสงเคราะห์
1) เพื่อชำระจิตใจของผู้บริจาคให้บริสุทธิ์ไม่ตกเป็นทาสแห่งวัตถุ
ด้วยความโลภ และเห็นแก่ตัว
พิธีฮัจญ์
สำหรับชาวมุสลิมผู้มีฐานะดีมีสุขภาพดีบรรลุศาสนภาพโดยผู้ที่ควรไปเข้าร่วมปฎิบัติในพิธีฮัจญ์ ได้แก่ ผู้ชายอายุ15ปี และผู้หญิง19ปี
การประกอบพิธีฮัจญ์
สถานที่ในการประกอบพิธีฮัจญ์มีเพียงแห่งเดียวโลกมุสลิม ไม่สามารถจะไปประกอบพิธีฮัจญ์ที่ไรหนก็ไรด้ตามใจชอบ
สถานที่นี้มีทั้งราชาและยาจกนายและบ่าวผิวขาวผิวดาทุกคนแต่งกายเหมือนกันด้วยผ้าขาวเพียง 2 ชิ้นทุกคนเท่าเทียมกัน เป็นพี่น้องกันหัวใจจานวนล้านดวงในที่เดียวกันต่างมุ่งอยู่ที่พระเจ้าองค์เดียวกัน
เป็นสถานที่พบปะระหว่างมุสลิม คำนี้มีความหมายว่า ออกเดินทางไปประกอบ พิธีฮัจญ์ ในชีวิตหนึ่ง มุสลิมจะเดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์ ณ มหานครเมกกะ ประเทศซาอุดิอารเบียอย่างน้อย 1 ครั้ง เป็นข้อบังคับสำหรับทุกคนที่มีความสามารถพอจะเดินทางไปได้ และไม่ทำให้ครอบครัวเดือดร้อนระหว่างเดินทาง กำหนดเวลาของการไปทำพิธีฮัจญ์ในปีหนึ่งๆ มุสลิมทั่วโลกจะเดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์พร้อมกัน 1 ครั้ง
ต่างอยู่ในความสารวมความนอบน้อมต่อพระองค์ขอพรจากพระองค์เป็นการมาหยุดมาพักแรมอยู่ด้วยกันด้วยความสงบ
คำว่า ฮัจญ์ หมายถึง การเดินทางไปยังจุดมุ่งหมายเฉพาะอันหนึ่งในแง่กฎหมายของอิสลามคือการไปเยี่ยมหรือการเดินทางไปมักกะฮ์ซึ่งถือเสมือนว่าเป็นศูนย์กลางของชาวมุสลิมทั่วโลก
บุคคลที่มีความสามารถในการประกอบพิธีฮัจญ์หมายถึงมุสลิมที่มีสุขภาพแข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจมีสติปัญญาที่สมบูรณ์ที่มีทรัพย์สินเพียงพอในการใช้จ่ายโดยมิต้องเป็นหนี้สินและเดือดร้อนบุคคลที่อยู่ข้างหลังและเส้นทางที่เดินทางไรปจะต้องปลอดภัย
ต้องเป็นผู้ที่ประกอบศาสนกิจนอกเหนือจากการละหมาด การถือศีลอด การบริจาคซะกาต การไปประกอบพิธีฮัจญ์มิใช่เพื่อโอ้อวดหรือเพื่อแสดงความมั่งคั่งของตนแต่เป็นการไปเพื่อทดสอบความศรัทธาและความเข้มแข็งอดทน
(บัสลัน มาหะมะ, 2552)
คือการเดินทางไปประกอบศาสนกิจ ณ เมืองเมกกะประเทศซาอุดิอาระเบีย
แนวคิดสำคัญ:ความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพโดยทั่วไป
การช่วยผู้ป่วยระยะสุดท้ายในการใส่เครื่องช่วยหายใจโดยผู้ป่วยมีภาวะเป็นผักเป็นเรื่องที่ไม่สนับสนุนให้ทำ
การผ่าศพชันสูตรเป็นสิ่งที่ต้องห้าม....ยกเว้นเป็นข้อบังคับทางกฎหมาย
การช่วยให้ฆ่าตัวตายหรือการุนฆาตเป็นเรื่องต้องห้าม
หลังคลอดจะมีการขอรกเอาไรปฝังต้องแจ้งให้ทราบ
หากมีข้อจำกัดไม่สามารถให้นำรกไปได้
การขลิบอวัยวะเพศชายเป็นเรื่องที่แนะนำให้ปฏิบัติ
ที่มา: อัชฌา วารีย์. (2562). เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม (บทที่4).คณะพยาบาลศาสตร์แมคคอร์มิค มหาวิทยาลัยพายัพ.
ห้ามทำแท้งการทำแท้งจะทำได้ในกรณีจำเป็นที่ต้อง
รักษาชีวิตของแม่
การให้บริการทางการแพทย์และพยาบาล
มุสลิมไม่ได้ห้ามการได้รับบริการสุขภาพจากเพศตรงข้าม
ผู้ให้บริการควรเป็นเพศเดียวกับผู้ป่วย
ผู้หญิงมุสลิมจะใส่เสื้อผ้าที่มีการปกคลุมร่างกายหากต้องการตรวจควรมีเสื้อคลุมที่ยาวสามารถปกผิดร่างกายได้ทั่ว หากไม่สามารถจัดหาให้ได้ควรจะอนุญาตให้ใส่เสื้อผ้าของตนเองได้
ถ้ามีความจำเป็นต้องให้บริการจากผู้รักษาเพศตรงข้าม เช่น แพทย์เป็นผู้ชายควรให้สามีของผู้ป่วยเข้าไปด้วยหรือเป็นผู้หญิงที่ผู้ป่วยอนุญาตให้เข้าไปได้
จำกัดการสบตาไม่จ้องผู้ป่วยมากเกินไป
ที่มา: อัชฌา วารีย์. (2562). เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม (บทที่4).คณะพยาบาลศาสตร์แมคคอร์มิค มหาวิทยาลัยพายัพ.
การดูแลเรื่องอาหาร
มุสลิมจะล้างมือก่อนและหลังรับประทานอาหารควรมีการเตรียมสถานที่
มุสลิมจะใช้มือขวาในการจับอาหารและเครื่องดื่มในการประทานหากผู้ดูแลสัมผัสอาหารควรใช้มือขวา
การอดอาหารจะทำปีละครั้งช่วงเดือนรอมฎอนยกเว้นผู้ป่วยและหญิงตั้งครรภ์
ที่มา:อัชฌา วารีย์. (2562). เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม (บทที่4).คณะพยาบาลศาสตร์แมคคอร์มิค มหาวิทยาลัยพายัพ.
การดูแลอาหารเป็นอาหาร ฮาลาลไม่มีหมู
ไม่มีแอลกอฮอล์
การดูแลทางจิตวิญญาณ
การสวดมนต์จะทำวันละ5ครั้ง
ผู้มีข้อจำกัดด้านสติปัญญาผู้หญิงหลังคลอดและผู้หญิงที่มีประจำเดือนจะเป็นข้อยกเว้น การสวดมนต์จะหันหน้าไปทางเมืองเมกกะ (หรือหันหน้าไปทางทิศตะวันตก)
มีสถานที่ล้างเท้าก่อนทำพิธีหรือจัดทำอ่างน้ำสำหรับอาบ
เพื่อทำการสวดทางศาสนา
ควรเอาสิ่งที่เป็นสัญลักษณ์ทางศาสนาอื่นออกจากห้องผู้ป่วย
จัดสถานที่ละหมาด
ที่มา: อัชฌา วารีย์. (2562). เอกสารประกอบการสอนรายวิชาการพยาบาลข้ามวัฒนธรรม (บทที่4).คณะพยาบาลศาสตร์แมคคอร์มิค มหาวิทยาลัยพายัพ.
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
เป็นการดูแลรักษาอย่างเต็มที่ด้วยความรักความเมตตาเพื่อลดความทุกข์ทรมานและเพิ่มคุณภาพชีวิตที่ยังเหลืออยู่ให้แก่ผู้ป่วยมีการดูแลอย่างต่อเนื่องและครอบคลุมทั้ง ผู้ป่วย ญาติ และ ผู้ดูแล
เป้าหมายการดูแล ได้แก่
ยอมรับเรื่องการมีชีวิตและการตายตามบริบทของศาสนาและวัฒนธรรม
บูรณาการมิติทางสังคมจิตใจและจิตวิญญาณ
ลดความเจ็บปวดและอาการไม่สบายต่างๆ
ให้การสนับสนุนและช่วยเหลือญาติ
มีการทำงานเป็นทีมเพื่อการดูแลผู้ป่วยและญาติอย่างมีคุณภาพ
การให้การดูแลในทุกด้านของผู้ป่วยที่กำลังใจเจ็บป่วยจากพยาธิสภาพที่กำลังลุกลามและไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ ด้วยวิทยาการทางการแพทย์มุ่งแก้ไขปัญหาที่สำคัญ ได้แก่ บรรเทาความเจ็บปวดปัญหาทางกายภาพต่างๆปัญหาทางสุขภาพจิตสังคมและจิตวิญญาณโดยมุ่งเน้นเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตทั้งของผู้ป่วยและครอบครัว
ความเชื่อเกี่ยวกับความตายของมุสลิม
พระผู้เป็นเจ้าทรงเป็นผู้ให้มนุษย์เกิดและให้มนุษย์ตาย
พระเจ้าเป็นผู้ทรงกำหนดอายุขัยของมนุษย์
ภาวะใกล้ตายเป็นภาวะที่มุสลิมต้องการอยู่ใกล้พระอัลเลาะฮ์มากที่สุด และเป็นการดูแลให้ผู้ป่วยลดความทุกข์ทรมาน
มนุษย์ไม่สามารถรู้ได้ว่าที่ใดและเมื่อใดเขาจะตาย
อิสลามไม่ให้มนุษย์ฆ่าตัวตายแต่ทุกคนต้องรำลึกถึงความตายอยู่ตลอดเวลา ทั้งนี้เพื่อทุกคนได้เตรียมตัวเตรียมใจและพร้อมที่จะกลับไปสู่พระอัลเลาะฮ์เปรียบเสมือนการก้าวผ่านจากชีวิตหนึ่งไปสู่อีกชีวิตหนึ่ง
มนุษย์ต้องรำลึกถึงความตายให้มาก
ชีวิตมนุษย์มาจากพระองค์ประทานมาให้สุดท้ายต้องกลับไปหาพระองค์
ความตายเป็นข่าวดีและสบายใจสำหรับผู้ศรัทธา
เป็นภาวะที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ทุกคนต้องเผชิญและยอมรับเพราะเป็นความประสงค์ของพระอัลเลาะฮ์
การจัดการศพตามวิถีอิสลาม
-นำศพไปบรรจุในหีบศพถ้าหากอยู่ในที่กันดารไม่ใช้หีบศพก็ได้แต่ให้ทำหลุมเพื่อเตรียมฝัง
-ฝังในหลุมลึกคะเนพอไม่ให้มีกลิ่นขึ้นหรือสัตว์ป่าคุ้ยเขี่ยขึ้นมาได้
-นำศพมาวางบนผ้าขาวซึ่งปูไว้๓ ชั้นนำมือทั้งสองไว้ที่ระดับอกให้มือขวาทับบนมือซ้ายแล้วห่อด้วยผ้าขาว ๓ ชั้น
-เมื่อฝังในที่ใดแล้วห้ามขุดศพนั้นขึ้นมาไม่ว่าประการใด ๆ
-ให้นำศพมาอาบน้ำชำระสิ่งสกปรกที่ติดอยู่รีดท้องเพื่อให้สิ่งปรกภายในเคลื่อนที่ออกมาแล้วรดน้ำให้สะอาดทั้งตัว
-การฝังให้วางศพนอนตะแคงข้างขวา หันหน้าศพไปทางทิศตะวันตกแล้วนำดินที่ขุดขึ้นมากลบไปจนหมด
สำหรับมุสลิมที่ตายด้วยโรคภัยไข้เจ็บหรือด้วยพิษ
บาดแผลที่กำลังรักษาอยู่
-หากจำเป็นต้องรักษาศพให้รักษาไว้ไม่ให้มีกลิ่นเหม็นถ้าปล่อยให้มีกลิ่นเหม็นทางศาสนาถือว่าเป็นการบาป
การอุทิศศพเมื่อผู้ตายสั่งเสียมอบร่างกายศพ
หรือบริจาคอวัยวะ
4) จุดประสงค์ต้องไม่ใช่เพื่อการค้าแสวงหากำไรแลกเปลี่ยนหรือเพื่อให้ได้มาซึ่งสิทธิพิเศษ
5) อวัยวะที่ผู้สั่งเสียได้แสดงเจตนาบริจาคนั้นต้องไม่ใช่ส่วนที่
ค้านกับหลักการและคำสอน
3) จุดประสงค์ในการถ่ายอวัยวะนั้นเพราะความจำเป็นทางการแพทย์
6) คาดการณ์ได้ว่าการผ่าตัดถ่ายอวัยวะจากผู้ตายที่ได้สั่งเสียไว้ไปสู่ผู้ที่ยังมีชีวิตจะต้องประสบผลค่อนข้างสูง
2) คำสั่งเสียบริจาคนั้นต้องเป็นลายลักษณ์อักษร
7) ดำเนินการตามคาสั่งเสียไรด้ก็เมื่อผู้สั่งเสียตายเท่านั้น
1) ผู้สั่งเสียต้องเป็นบุคคลที่มีคุณสมบัติครบคือบรรลุนิติภาวะมีสติสัมปชัญญะจริงจัง และยินยอมในการบริจาคอวัยวะ