Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ - Coggle Diagram
การส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
ความสำคัญของการพักผ่อนนอนหลับ
สงวนพลังงาน
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และความจำ
ซ่อมแซมและสร้างเนื้อเยื่อขึ้นใหม่ ช่วยส่งเสริมการหายของแผลรวมถึงมีการสะสมพลังงานไว้ใช้ในวันต่อไป
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
ส่งเสริมการเจริญเติบโต ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ โดยมีการสร้างและสะสมพลังงานในขณะหลับ
ผลกระทบจากปัญหาการนอนหลับ
ผลกระทบต่อจิตใจและอารมณ์
ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงของอารมณ์ได้ง่าย อาจมีอาการซึมและหงุดหงิด เกิดความสับสนและความสามารถในการควบคุมตนเองลดลง
ผลกระทบต่อสิตปัญญาและการรับรู้
เมื่อนอนหลับไม่เพียงพอทำให้การปฏิบัติกิจกรรมในช่วงกลางวันลดลง สมาธิไม่ดี และแก้ไขปัญหาได้ช้า
ผลกระทบต่อร่างกาย
ทำให้เกิดอาการเปลี่ยนแปลงต่างๆ เช่น อาการเมื่อยล้า คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก ปวดศีรษะ วิงเวียนเหมือนบ้านหมุน(vertigo)
ผลกระทบทางสังคม
บุคคลที่นอนหลับไม่เพียง จะส่งผลทางสังคม ได้แก่ การมีปฏิสัมพันธ์ในครอบครัวและสังคมลดลง
ปัจจัยที่มีผลต่อการพักผ่อนและการนอนหลับ
ปัจจัยภายใน
ความไม่สุขสบาย
ความวิตกกังวล
ปัจจัยส่วนบุคคล
ปัจจัยภายนอก
ความไม่คุ้นเคยต่อสถานที่สิ่งแวดล้อมของโรงพยาบาล
กิจกรรมการรักษาพยาบาล
แสง
อาหาร
อุณหภูมิ
ยา
อายุ
วงจรการนอนหลับ
ช่วงหลับธรรมดา(Non-rapid eye movement sleep:NREM)
ระยะที่2(หลับตื้น)
ระยะที่3(หลับปานกลาง)
ระยะที่1(เริ่มมีความง่วง)
ระยะที่4(หลับลึก)
ช่วงหลับฝัน(Rapid eye movement sleep:REM)
การประเมินคุณภาพการนอนหลับและการนอนหลับที่ผิดปกติ
Hypersomnia
เป็นการนอนหลับมาก ง่วงนอนมากกว่าปกติ แสดงออกในแง่การนอนหลับที่ไม่ควรหลับ เช่น หลับขณะขับรถยนต์ หรือรอรถติดไฟแดง หลับขณะรับประทานอาหาร
Parasomnia
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงจากหลับมาตื่่นหรือจากตื่นมาหลับ ได้แก่ อาการขากระตุกขณะกำลังหลับ ละเมอพูด ศีรษะโขกกำแพง
กลุ่มอื่นๆ ได้แก่ การนอนกัดฟัน การกรน
ความผิดปกติของการตื่น(around disoder) ได้แก่ อาการสับสน ละเมอเดิน
กลุ่มอาการที่เกิดขึ้นขณะหลับชนิดที่มีการกรอกตา ได้แก่ ภาวะฝันร้าย ภาวะผีอำ
Insomnia
พบบ่อยที่สุด
การนอนหลับไม่เพียงพอระยะสั้น(Short term insomnia) นอนหลับไม่เพียงพอเป็นระยะเวลาไม่เกิน 3 สัปดาห์
การนอนหลับไม่เพียงพอชั่วคราว(Transient insomnia) นอนหลับไม่เพียงพอเป็นช่วงเวลาสั้นๆ3-5วัน
การนอนหลับไม่เพียงพอแบบเรื้อรัง(Chronic insomnia) เกิดนานขึ้นกว่า1เดือนขึ้นไป
ผลที่เกิดจากการนอนหลับผิดปกติ
ผลจากการนอนไม่พอชนิดNERM ได้แก่ เมื่อยล้า คลื่นไส้ อาเจียน ท้องผูก ทนต่อความเจ็บปวดได้ลดลง
ผลจากการนอนไม่พอชนิดREM ได้แก่ ความคิดบกพร่อง การรับรู้บกพร่อง ประสาทหลอน
ผลในภาพรวมจะทำให้การทำงานของร่างกายขาดประสิทธิภาพ
การส่งเสริมการพักผ่อนการนอนหลับ
การจัดสิ่งแวดล้อมที่ดี
อุณหภูมิ
เสียง
ความพร้อมของอุปกรณ์
กลิ่น
ความสะอาด
แสงสว่าง
ความเป็นส่วนตัว
ความอบอุ่น
การจัดท่าทางสำหรับผู้ป่วย
Prone position
Lateral positon
Fowler's positon
Dorsal position(supine position)
Sitting position
ความหมายของการพักผ่อนและการนอนหลับ
การพักผ่อน(Rest)
การพักกิจกรรมการทำงานของร่างกาย หรือการพักการทำงานของอวัยวะต่างๆโดยนั่งเฉยๆชั่วขณะหนึ่ง อาจทำกิจกรรมเบาๆนันทนาการ เปลี่ยนอิริยาบท หรือชมวิว เพื่อให้อวัยวะได้ผ่อนคลายความตึงเครียด ลดความกังวล
การพักผ่อนของผู้ป่วยโรงพยาบาล
Absolute bed rest เป็นการพักผ่อนโดยให้ผู้ป่วยนอนอยู่บนเตียง ไม่ให้ร่างกายออกแรงในกิจกรรมใดๆที่จะทำให้รู้สึกเหนื่อย
Bed rest เป็นการพักผ่อนโดยให้ผู้ป่วยนอนอยู่บนเตียง สามารถทำกิจกรรมประจำวันได้ตามความสามารถของผู้ป่วย เช่นไปห้องน้ำด้วยตนเอง
การนอนหลับ
เป็นกระบวนการทางสรีรวิทยาพื้นฐานที่สอดประสานกับจังหวะการทำงานของร่างกายด้านอื่นๆ โดยมีการเปลี่ยนแปลงของอวัยวะต่างๆของร่างกายไปในทางผ่อนคลาย
การทำเตียง
การทำเตียงว่าง(close bed)
การทำเตียงผู้ป่วยลุกจากเตียงได้(Open/unoccupied bed)
การทำเตียงรับผู้ป่วยหลังผ่าตัดและผู้ป่วยที่ได้รับยาสลบ(Surgical-ether-anesthetic bed)
การทำเตียงผู้ป่วยลุกจากเตียงไม่ได้(Occupied bed)
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการพักผ่อนและนอนหลับ
การวางแผนการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
การประเมินผลการพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ