Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 เภสัชพลศาสตร์ (Pharmacodynamics), นางสาวกัลชิญา อทุมชาย…
บทที่ 3 เภสัชพลศาสตร์ (Pharmacodynamics)
กลไกลการออกฤทธิ์ของยา
2 ชนิด
1.ยาที่มีตําแหน่งการออกฤทธิ์ที่ไม่จําเพาะเจาะจง
ยาเหล่านีไม่ได้ออกฤทธิ์บน receptors หรือ enzyme ต่างๆในร่างกาย
เช่น
ยาสลบ
ยาที่มีตําแหน่งออกฤทธิ์ที่เฉพาะเจาะจง
ยาส่วนใหญ่จะออกฤทธิ์ที่ตําแหน่งเฉพาะเจาะจง
หมายถึง
การออกฤทธิ์ของยา
การออกฤทธิ์ผ่านตัวรับ Receptor-mediatedaction
โมเลกุลหรือโครงสรา้งที่ทําหน้าที่จับกับยาหรือฮอรโ์มนแล้วก่อใหเ้กิดการเปลี่ยนแปลงการทํางานของเซลล์หรือเอนไซม์receptors
ปฏิกิริยาต่อกันระหว่างยา
1.ปฏิกิริยาต่อกันของยาในลักษณะเพิ่มฤทธิ์หรือเสริมฤทธิ์
เราใช้ยา2ชนิด ที่มีฤทธิ์ในทางเภสัชวิทยา
2.ปฏิกิริยาต่อกันของยาแบบต้านฤทธิ์กัน เช่น
การใช้ยาการเเข็งตัวของเลือด +วิตามินK
3.ปฏิกิริยาต่อกันของยาอัน เนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงกลไกในการขนส่งยา เช่น การให้ยาลดความดัน
ปฏิกริยาต่อกันของยามาจากการรบกวนสมดุลของน้ำและอิเลคโตรไลท์
อาการไม่พึงประสงค์
อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา (adverse drug reaction: ADR)
การตอบสนองต่อยาที่เป็นอันตรายและเกิดขึ้นโดยมิได้ตั้งใจเมื่อใช้ในขนาดปกติในมนษุยเ์พื่อการป้องกัน วินิจฉัย หรือรักษาโรค
อาการข้างเคียงจากการใช้ยา(side effect)
ผลใดๆจากเภสัชภัณฑ์ที่ไม่ได้ตั้งใจใหเ้กิดขึ้นเกิดในขนาดการใช้ยาปก
ติในมนษุย์สัมพันธ์กับคุณสมบัติทางเภสัชวิทยาของยา
การจําแนกประเภทของ ADR
ตามฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของยา
ADP TYPE A เป็นผลจากฤทธิ์เภสัชวิทยาของยาหรือเมตาบอไลท์ของยา สามารถทำนายได้จากฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาไม่มีความจำเพาะในการเกิดกับคนบางกลุ่ม
ADR TYPE Bเป็นปฏิกิริยาตอบสนองเฉพาะสำหรับบางคนจะเกิดขึ้นกับผู้ที่มีความไวต่อยา
พิษของยา (Toxic effect)
ระดับที่รุนแรงจนถึงขั้นเป็นพิษเป็นผลของยาที่ใช้ถ้ายังเพิ่มขนาดใช้ยาอาการผิดก็ยิ่งเพิ่มขึ้นจนอวัยวะนั้นพิการหรือเสื่อมสภาพไป
เช่น
คลอแรมเฟนิคอล สเตียรอยด์ แอสไพริน
นางสาวกัลชิญา อทุมชาย UDA6280001 นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 2