Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เภสัชจลนศาสตร์ (Pharmacokinetics) - Coggle Diagram
เภสัชจลนศาสตร์ (Pharmacokinetics)
Pharmacokinetics
การเป็นไปของยาเมื่อยาเข้าสู่ร่างกายหรือหมายถึงการที่ร่างกายจัดการกับยาที่ได้รับ (what the body does to the drug) ได้แก่
การดูดซึมของยาเข้าสู่ร่างกาย (absorption)
การกระจายตัวของยา (distribution)
การเปลี่ยนแปลงยา (metabolism)
การขับถ่ายยาออกจากร่างกาย (excretion)
Pharmacokinetic processes
Absorption
การดูดซึมยาจากบริเวณที่ให้ยา (site of administration) เข้าสู่ กระแสเลือด ดังนั้น การดูดซึมยาจึงเป็นขั้นตอนที่สำคัญในการให้ยา ในทุก ๆ ทางยกเว้นโดยการฉีดเข้าเส้นเลือดดำ (intravenous injection)
Mechanism of absorption
ยาที่ดูดซึมผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ (lipid bilayer)
ได้ง่ายต้องมีลักษณะดังนี้
High lipid solubility
Small size, Non-ionized
ยาที่มีคุณสมบัติต่างไปจากนี้ต้องใช้วิธีอื่น
Physiology of Transport
Pharmacokinetics is dependent on the bodies various physiological mechanisms that move substances across the body
site of administration
1 การให้ยาทางปาก (Oral administration)
2 การให้ยาโดยการอมใต้ลิ้น (Sublingual administration)
3 การให้ยาทางทวารหนัก (Rectal Administration)
4 การให้ยาโดยการทาภายนอก (Application to epithelial surfaces)
5 การให้ยาโดยการสูดดม (Inhalation)
6 การฉีดยาเข้าทางเส้นเลือดดำ (Intravenous (IV) injection)
7 Bioavailability
ความสำคัญของการดูดซึม
Onระยะเวลาตั้งแต่เริ่มให้ยาจนถึงเวลาที่ยาเริ่มออกฤทธิ์e
Distribution
Blood circulation to site of action
การกระจายของยานั้นขึ้นกับ physiological factors และ physicochemical properties ของยา
ในช่วงแรกของการกระจายจะขึ้นกับ cardiac output และ blood flow โดยที่อวัยวะที่มีเลือดไปเลี้ยงมาก (well perfused organ) เช่น ตับ, ไต, สมอง ก็จะได้รับยาก่อน ส่วนอวัยวะอื่นๆเช่น กล้ามเนื้อ, อวัยวะภายใน, ผิวหนัง, ไขมัน ก็จะได้รับยาช้ากว่า
Metabolism or Biotransformation
. Phase I reaction ปฏิกิริยา oxidation, reduction, และ hydrolysis ซึ่งมักเป็นการเติมreactive group เข้าไปในโมเลกุล ซึ่งผลที่เกิดขึ้นมักจะมี chemically reactive มากขึ้นและอาจมี toxicityมากขึ้น
Phase II reaction: ปฏิกิริยา conjugation ซึ่งเป็นการเติม substituent group เข้าไปยังโมเลกุลของยา โดยผลที่เกิดขึ้นมักจะเป็น pharmacologically inactive และมี lipid soluble น้อยลงและทำให้ถูกขับออกทางน้ำดีหรือทางปัสสาวะได้ดีขึ้น
Excretion
Routes: urine, feces, bile, milk, breath,sweat
ยาอาจถูกกำจัดออกจากร่างกายทั้งในรูปที่ไม่ถูกเปลี่ยนแปลง หรือ ถูกเปลี่ยนแปลงก็ได้
ขนาดยามาตรฐาน (standard dose)
ได้จากการทดลองในอาสาสมัครที่ร่างกายสมบูรณ์ และผู้ป่วยจำนวนหนึ่ง ซึ่งขนาดยาดังกล่าวอาจไม่ใช่ขนาดยาที่เหมาะสมกับผู้ป่วยทุกคน ปัจจัยทางสรีรวิทยาและพยาธิสรีรวิทยาของผู้ป่วยแต่ละคนจะเป็นปัจจัยที่มีผลต่อ Pharmacokinetics และส่งผลต่อขนาดยาที่ใช้
Pharmacokinetic parameter ที่สำคัญในการปรับขนาดยาให้แก่ผู้ป่วยได้แก่
1.Clearance (CL)
2.Volume of distribution (Vd)
3.Bioavailability
1 Clearance
การกำจัดยา หรือ Drug clearance (CL) มีหลักการเช่นเดียวกับการวัดการทำงานของไตโดย creatinine clearance (CLcr) ซึ่งเป็นการวัดอัตราการกำจัด creatinine ในปัสสาวะ เมื่อเทียบกับความเข้มข้นของ creatinine ในเลือด
3 Design and optimization of dosage regimens
Maintenance dose (MD) เป็นขนาดยาที่ให้เพื่อคงระดับยาใน plasma ให้อยู่ภายใน steady state concentration
Loading dose (LD) เป็นการให้ยาในขนาดสูงไปในช่วงแรกเพื่อให้ระดับยาสูงถึงระดับที่ต้องการ การให้ loading dose มีข้อเสียคือ การให้ยาในขนาดสูง อาจทำให้ระดับยาสูงขึ้นถึงระดับที่เป็นพิษ และต้องใช้ระยะเวลานานกว่าที่ระดับยานั้นจะลดลงมา
loading dose นี้มีความสำคัญและจำเป็นในกรณียาที่มีค่า t1/2 ยาวนานมาก เพราะยาจะเกิดระดับคงที่ที่ steady state จะต้องใช้เวลา 3-4 t1/2
การให้ loading dose ต้องคำนึงถึง Rate of administration ด้วยว่าจะก่อให้เกิด toxicity หรือไม่