Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ - Coggle Diagram
การส่งเสริมสุขอนามัยและการพักผ่อนนอนหลับ
การดูแลสุขภาพอนามัยส่วนบุคคล
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขอนามัยส่วนบุคคล
เพศ
ความแตกต่างของเพศจะมีความต้องการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน เช่นเพศหญิงเป็นเพศที่อ่อนแอ
ภาวะสุขภาพ
มื่อมีการเจ็บปุวยที่รุนแรงหรือเรื้อรัง หรือเจ็บปวดหรือมีการเจ็บปุ่วยทางสุขภาพจิต ทำให้ขาดความสนใ
อายุ
ความแตกต่างของอายุจะมีความต้องการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน เช่น เด็กเล็กไม่สามารถดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลได้ด้วยตนเองผู้ปกครองต้องให้การดูแลอย่างใกล้ชิด
การศึกษา
บุคคลที่มีการศึกษา มักจะศึกษาค้นคว้า และมีความรู้ในการดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งทราบถึงประโยชน์ และโทษของการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
เศรษฐกิจ
บุคคลที่มีฐานะดี ย่อมมีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์บำรุงผิว ผม ปาก ฟัน และให้เวลากับดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลมากขึ้น
อาชีพ
บุคคลที่มีอาชีพเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพจะมีความรู้ ความเข้าใจและให้ความส าคัญของการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลต่อการด าเนินชีวิตประจำวัน
ถิ่นที่อยู่
การดำเนินชีวิตภายใต้ถิ่นที่อยู่ที่แตกต่างกัน เช่น การดำเนินชีวิตในเขตเมือง และเขตชนบท
สิ่งแวดล้อม
ในฤดูร้อนอุณหภูมิจะสูงทำให้รู้สึกร้อนอบอ้าวบุคคลที่อาศัยอยู่ในที่อากาศร้อนก็จะอาบน้ำ หรือลูบตัวบ่อยครั้ง
ขนบธรรมเนียมประเพณีและความเชื่อ
จะเป็นผลต่อการดูแลตนเองเกี่ยวกับสุขอนามัยส่วนบุคคล เช่น ห้ามสระผมขณะมีไข้
ภาวะเจ็บป่วย
ในภาวะการเจ็บป่วย อาจส่งผลในการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลลดลง เช่น โรคหัวใจ
ความชอบ
เป็นเรื่องส่วนตัวของแต่ละบุคคลที่ได้รับการฝึกอบรมด้านการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลมาจากครอบครัวโรงเรียน และปลูกฝังจนเป็นอุปนิสัยในการดูแลตนเองด้านความสะอาดร่างกาย
การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
เป็นบทบาทอิสระของพยาบาลที่สามารถพิจารณากระทำได้ทันทีโดยไม่ต้องมีค าสั่งของแพทย์เมื่อผู้ปุวยเข้านอนรักษาโรงพยาบาลจนถึงจำหน่ายกลับบ้าน
การดูแลของพยาบาลเมื่อมาพักรักษาตัว
การพยาบาลตอนเช้า
จะช่วยเหลือในการอาบน้ าผู้ปุวยบนเตียง ให้บริการหม้อนอนในผู้ปุวยหญิง หรือกระบอกปัสสาวะในผู้ปุวยชายการท าความสะอาดปากฟัน การนวดหลัง การดูแลเล็บมือและเล็บเท้า เส้นผมและทรงผมอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก การเปลี่ยนเสื้อผ้า ผ้าปูที่นอน การจัดท่านอนให้ผู้ปุวยอยู่ในท่าที่สุขสบาย
การพยาบาลตอนบ่ายหรือตอนเย็น
ดูแลทำความสะอาดปากและฟัน การล้างมือ ล้างหน้า หวีผม สระผมการให้บริการหม้อนอน หรือกระบอกปัสสาวะ
การพยาบาลตอนเช้าตรู่หรือเช้ามืด
ช่วยเหลือเรื่องการขับถ่ายปัสสาวะ อุจจาระ การให้กระบอกปัสสาวะ หรือหม้อนอน การท าความสะอาดร่างกาย เช่นการเช็ดหน้า ล้างมือ ความสะอาดปากและฟัน
การพยาบาลตอนก่อนนอน
ดูแลเรื่องการให้หม้อนอนหรือกระบอกปัสสาวะ การล้างมือ ล้างหน้าท าความสะอาดปากฟัน การนวดหลัง การจัดท่าให้ผู้ปุวยได้พักผ่อนอย่างสุขสบาย
การพยาบาลเมื่อจำเป็นหรือเมื่อผู้ปุวยต้องการ
พยาบาลให้การพยาบาลตามความต้องการของผู้ปุวยตลอด 24ชั่วโมง เช่น ถ้าผู้ปุวยปัสสาวะรดที่นอนเปียกทั้งตัวพยาบาลจะช่วยเช็ดตัว ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก การเปลี่ยนเสื้อผ้า ผ้าปูที่นอนให้ผู้ปุวย
การส่งเสริมสุขอนามัย
สุขอนามัยส่วนบุคคล
สุขอนามัยส่วนบุคคล (Personalhygiene)คือ การดูแลตนเอง เช่น การอาบน้ า การขับถ่ายปัสาวะ อุจจาระ การดูแลสุขอนามัยทั่วไปของร่างกาย การแต่งตัว สวมใส่เสื้อผ้า การออกก าลัง และการพักผ่อนนอนหลับ
การส่งเสริมสุขอนามัย
เป็นการส่งเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรงการคงไว้หรือรักษาไว้ซึ่งสุขภาพและการปูองกันโรคโดยการดูแลความสะอาดส่วนต่าง ของร่างกาย ได้แก่ ผิวหนัง ผม เล็บ ปาก ฟัน ตา หู จมูก และอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
สุขอนามัย
หลักการและความรู้ของการคงไว้หรือรักษาไว้ซึ่งสุขภาพและการปูองกันโรค
ความสำคัญของการส่งเสริมสุขอนามัย
ทำให้มีสุขภาพดีทั้งร่างกายและจิตใจ
เพื่อสร้างความมั่นใจ ในการอยู่รวมกับสังคมได้อย่างมีความสุข
การดูแลความสะอาดของผิวหนัง/ การอาบน้ำ(Bathing)
การอาบน้ำที่ห้องน้ำ (Bathing in bath room/ Shower) เป็นการช่วยเหลือพาผู้ปุวยไปทำความสะอาดร่างกายในห้องน้ำ โดยมากเป็นการอาบโดยใช้ฝักบัว
การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงเฉพาะบางส่วน (Partial bath) เป็นการทำความสะอาดร่างกายผู้ปำวยที่ช่วยเหลือตัวเองได้บ้าง ไม่สามารถอาบน้ำเช็ดตัวได้ครบทุกส่วน
การนวดหลัง (Back rub or back massage)
หลักการนวดหลัง
ไม่นวดบริเวณที่มีการอักเสบ มีแผล กระดูกหัก ผู้ปุวยโรคหัวใจ ภาวะมีไข
จัดท่าให้ผู้ป่วยสุขสบาย
ไม่นวดแรงเกินไปจนผู้ปุวยเจ็บ
นวดเป็นจังหวะสม่ าเสมอ
จุดประสงค์การนวดหลัง
กระตุ้นการไหลเวียนโลหิต
ป้องกันแผลกดทับ
ให้กล้ามเนื้อผ่อนคลาย ลดความตึงตัว
กระตุ้นผิวหนังและต่อมเหงื่อให้ท างานดีขึ้น
เครื่องใช้
ครีมหรือโลชั่นทาตัวหรือป้อง
ผ้าห่ม 1 ผืน และผ้าเช็ดตัว 1ผืน
วิธีปฏิบัติ
แนะนำตนเองบอกให้ผู้ปุวยทราบและอธิบายวัตถุประสงค
นำเครื่องใช้ต่าง มาวางที่โต๊ะข้างเตียง กั้นม่านให้มิดชิด
ล้างมือ
จัดท่านอนคว่ าและชิดริมเตียงด้านพยาบาลยืนมีหมอนเล็ก รองใต้หน้าอกีรษะไปข้างใดข้างหนึ่ง มือเหยียดตรงไปตามล าตัวถ้านอนคว่ าไม่ได้ให้นอนตะแคง
เลื่อนผ้าห่มมาบริเวณก้นกบ ปูผ้าเช็ดตัวทับบนผ้าห่ม ถ้านอนตะแคงให้ปูผ้าเช็ดตัวตามแนวยาวบนหลังผู้ปุวย เพื่อปูองกันผ้าปูที่นอนเปื้อนและไม่ให้ผู้ปุวยรู้สึกอาย
การอาบน้ำผู้ป่วยบนเตียงชนิดสมบูรณ์ (Complete bed bath)เป็นการทำความสะอาดร่างกายโดยการอาบน้ำเช็ดตัวให้ผู้ป่วยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ทั้งหมด
การดูแลความสะอาดปากและฟัน
วัตถุประสงค์
ปากและฟันสะอาด มีความชุ่มชื่น
กำจัดกลิ่นปาก ลมหายใจสดชื่น ป้องกันฟันผุ
ลดการอักเสบของเหงือก กระพุ้งแก้ม
หลักการทำความสะอาดปากและฟัน
แปรงฟันทุกซี่ ทุกด้าน นาน 5 นาที เพื่อขจัดคราบหินป
ผู้ป่วยที่มีปัญหาในช่องปาก มีแผล ปากแห้ง ไม่สามารถรับประทานอาหาร้ ต้องท าความสะอาดปากและฟันให้ทุก 2 ชั่วโมง
ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว พยาบาลต้องท าความสะอาดปากและฟันให้เป็นพิเศษ
วิธีการทำความสะอาดปากและฟันผู้ป่วยที่ช่วยตนเองได้
นำเครื่องใช้ไปที่เตียงผู้ปุวย เพื่อประหยัดเวลาและแรงงาน
ให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าศีรษะสูง หรือท่านั่ง เพื่อความสะดวกของผู้ป่วย
พยาบาลแนะนำตนเอง บอกให้ผู้ปุวยทราบและอธิบายวัตถุประสงค์
ปูผ้ากันเปื้อนใต้คาง วางชามรูปไตใต้คาง ให้ผู้ปุวยช่วยถือไว้
การทำความสะอาดปากฟันในผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตนเองได้น้อย
เครื่องใช้
ลูกสูบยางแดง (baby ball หรือ syringe ball)
น้ำยาบ้วนปาก เช่นน้ าเกลือ น้ ายาบ้วนปาก
syringe 10 cc
ไม้พันส าล
แก้วน้ำ
ชามรูปไต
ไม้กดลิ้น หรือไม้กดลิ้นพันสำลี
วิธีทำความสะอาดปากฟันผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตัวเองได้น้อย
ใช้ลูกสูบยางดูดน้ำฉีดล้างช่องปากและในซอกระหว่างกระพุ้งแก้มและฟัน
ปล่อยให้น้ำไหลลงชามรูปไตที่รองไว
ตรวจดูสภาพของปากและฟัน
ใช้ไม้พันสำลีชุบน้ำยาบ้วนปาก
การส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
ประเมินคุณภาพการนอนหลับและการนอนหลับที่ผิดปกติ
Insomnia เป็นความผิดปกติของการนอนหลับที่พบบ่อยที่สุด
การนอนหลับไม่เพียงพอระยะสั้น (Short term insomnia)เป็นการนอนหลับไม่เพียงพอเป็นระยะเวลาไม่เกิน 3 สัปดาห์ ส่วนใหญ่มีสาเหตุเดียวกับการนอนหลับไม่เพียงพอชั่วคราวแต่มีเวลานานกว่า
การนอนหลับไม่เพียงพอแบบเรื้อรัง (Chronic insomnia) เป็นการนอนหลับไม่เพียงพอเกิดขึ้นนานกว่า 1 เดือนขึ้นไป
การนอนหลับไม่เพียงพอชั่วคราว (Transient insomnia) เป็น
การนอนหลับไม่เพียงพอเป็นช่วงเวลาสั้น 3- 5 วัน ส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากปัญหาด้านอารมณ์ ปัญหาตึงเครียดในชีวิต อาการเจ็บปุวยทางร่างกาย
Hypersomnia เป็นการนอนหลับมาก หรือง่วงนอนมากกว่าปกติ ซึ่งจะแสดงออก ในแง่การนอนหลับในที่ไม่ควรหลั
Parasomnia เป็นพฤติกรรมที่ควรเกิดขณะตื่นแต่กลับเกิดขณะหลับเป็นกลุ่มอาการที่เกิดขึ้น
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในช่วงจากหลับมาตื่น หรือจากตื่นมาหลับได้แก่ อาการขากระตุกขณะก าลังหลับ (hypnic jerks) ละเมอพูด (sleep talking)
กลุ่มอาการที่เกิดขึ้นขณะหลับชนิดที่มีการกรอกตา ได้แก่ ภาวะฝันร้าย
ความผิดปกติของการตื่น (around disorder) ได้แก่อาการสับสน
กลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ การนอนกัดฟัน (sleep bruxism) การปัสสาวะรดี่นอนขณะหลับ
การส่งเสริมการพักผ่อนและการนอนหลับ
การจัดสิ่งแวดล้อม
ความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามและน่าอยู่อาศัย
ความพร้อมของอุปกรณ์เครื่องใช้และเครื่องอ านวยความสะดวกต่าง
อุณหภูมิ มีความเหมาะสมของอุณหภูมิระหว่าง 20-25 องศาเซลเซียส มีการถ่ายเทระบายอากาศดี มีแสงสว่างส่องเพียงพอ
เสียง แหล่งก าเนิดเสียงจากภายนอกห้อง หรือเกิดจากผู้ให้บริการ หรือ จากญาติที่มาเยี่ยมไข้ส่วนในห้องอาจเกิดจากอุปกรณ์ภายในห้อง หรือเครื่องอ านวยความสะดวกที่มีเสียง
การจัดท่าทางสำหรับผู้ป่วย
Dorsal position (supine position) เป็นท่านอนหงายราบ ขาชิดติดกัน ใช้ในการตรวจร่างกายทั่วไป เป็นท่านอนที่จัดขึ้นเพื่อความสุขสบาย
Fowler’s position เป็นท่านอนราบศีรษะสูง 30-90 องศา เป็นท่านอนที่สุขสบายและเพื่อการรักษา ท่านี้ลักษณะคล้ายท่านั่งบนเตียง สะดวกส าหรับให้ผู้ปุวยทิจกรรมบนเตียง
Prone position เป็นท่านอนคว่ า เป็นท่านอนที่สุขสบาย สำหรับผู้ปุวย ที่ไม่รู้สึกตัว แต่มีการหายใจปกต
Lateral position เป็นท่านอนตะแคง จัดเพื่อความสุขสบายของผู้ปุวย ที่ช่วยเหลือเคลื่อนไหวด้วยตนเองไม่ได้ ช่วยปูองกันการเกิดแผลกดทับด้านหลัง
Sitting position เป็นท่านั่งที่สุขสบายส าหรับผู้ปุวยได้เปลี่ยนอิริยาบถ และพักผ่อนได้อย่างมีความสุข เพื่อความปลอดภัย และความสุขสบายควรมีที่เท้าแขน
ปัจจัยที่มีผลต่อการพักผ่อนและการนอนหลับ
ปัจจัยภายใน
ปัจจัยส่วนบุคคล
อายุ เป็นปัจจัยพื้นฐานที่ท าให้แบบแผนการนอนหลับเปลี่ยนแปลง โดยมีผลต่อวงจรการนอนหลับ ตั้งแต่วัยทารกถึงวัยสูงอายุ ในผู้สูงอายุการนอนหลับจะลดลงทั้งปริมาณและคุณภาพ
เพศ โดยธรรมชาติแล้วเพศชายจะมีการเปลี่ยนแปลงแบบแผนการนอนหลับได้เร็วและมากกว่าเพศหญิง 10-20 ปี
ความไม่สุขสบาย
ความเจ็บปวด พบว่าความเจ็บปวดเป็นปัจจัยกวนการนอนหลับด้านร่างกายมากที่สุด
การใส่สายยางและท่อระบายต่าง จากสายยางและท่อระบายต่าง เป็นสิ่งแปลกปลอมของ
ร่างกาย ประกอบกับผู้ปุวยมีข้อจ ากัดท าให้การเคลื่อนไหวลดลง อันเนื่องมาจากการดึงรั้งของสาย
ท่านอนที่ไม่เหมาะสม ท่านอนมีผลต่อคุณภาพการนอนหลับ
ความวิตกกังวล :
ความกลัวและความวิตกกังวลในเรื่องต่าง เป็นปัจจัยรบกวนคุณภาพของการนอนหลับความวิตกกังวลมักเกิดจากสิ่งที่คุกคามต่อสวัสดิภาพของร่างกายและจิตใจ
ปัจจัยภายนอก
เสียง เสียงเป็นปัจจัยส าคัญที่เกิดขึ้นในขณะนอนในโรงพยาบาล แหล่งของเสียงรบกวนพบบ่อยที่สุด
อุณหภูมิ อุณหภูมิที่ต่ าหรือสูงเกินไป จะท าให้ผู้ปุวยกระสับกระส่ายเพิ่มขึ้น และตื่นบ่อยขึ้น
แสง แสงเป็นปัจจัยที่รบกวนการนอนหลับ โดยส่งผลต่อระยะการเริ่มต้นของการนอนหลับ
ความไม่คุ้นเคยต่อสถานที่สิ่งแวดล้อมของโรงพยาบาล การเปลี่ยนที่นอนเกิดความไม่คุ้นเคยต่อสถานที่
กิจกรรมการรักษาพยาบาล กิจกรรมการรักษาพยาบาลที่ผู้ปุวย
ได้รับตามเวลา
อาหาร การรับประทานอาหารที่มีสารทริพโทแฟ็น(tryptophan) ึ่งมีอยู่ในนมจะส่งเสริมการนอนหลับ ส่วนเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของคาเฟอีน
ยา ยาที่รบกวนการนอนหลับ ได้แก่ ยาบาบิทูเรต (barbiturates)โดยยาจะไปออกฤทธิ์รบกวนการนอนหลับในระยะ REM เกิดฝันร้ายและภาพหลอน
วงจรของการนอนหลับ
ช่วงหลับธรรมดา (Non-rapid eye movement sleep: NREM) เป็น
ช่วงการหลับที่จะลึกลงไปเรื่อย แบ่งออกเป็น 4 ระยะ ตั้งแต่หลับตื้นไปจนถึงหลับลึก
ระยะที่ 2 (หลับตื้น) การหลับในช่วงต้น เป็นสภาพที่ไม่ได้ยินเสียงรบกวนจากภายนอก เป็นระยะแรกที่มีการหลับอย่างแท้จริง แต่ยังไม่มีการฝัน ระยะนี้จะถูกปลุกให้ตื่นได้
โดยง่าย
ระยะที่ 3 (หลับปานกลาง) ทั้งคลื่นสมองและชีพจรจะเต้นช้าลง ความมีสติตัวจะหายไป การเคลื่อนไหวของตาจะหยุดลง แม้ได้รับสิ่งเร้าจากภายนอกก็จะไม่ตื่นโดยง่าย ขั้นนี้จะใช้เวลาประมาณ 20 - 30 นาที
ระยะที่ 1 (เริ่มมีความง่วง) เป็นช่วงเริ่มหลับที่เปลี่ยนจากการตื่นไปสู่ การ
นอน ในคนทั่วไปใช้เวลาตั้งแต่ 30 วินาที - 7 นาทีเป็นสภาพที่แม้จะได้รับการกระตุ้นเพียงเล็กน้อยกจะตื่น
ระยะที่ 4 (หลับลึก) เป็นช่วงหลับสนิทของการนอน ใช้เวลา 30 - 50 นาทีระยะนี้อุณหภูมิร่างกายและความดันโลหิตจะลดลง อัตราการเต้นของหัวใจลดลง 60 ครั้งต่อนาที growth hormone จะมีการหลั่งในระยะนี
ช่วงหลับฝัน (Rapid eye movement sleep: REM) เป็นช่วงที่กล้ามเนื้อต่าง ของร่างกายแทบจะหยุดการท างานกันหมด แต่ระบบการท างานของหัวใจ กระบังลมเพื่อการหายใจ กล้ามเนื้อตา และกล้ามเนื้อเรียบ
การทำเตียง
การท าเตียง หมายถึง การเปลี่ยนเครื่องผ้าที่ใช้กับเครื่องนอนให้สะอาด เรียบร้อย การท าเตียง มี 4 ชนิด คือ
การท าเตียงผู้ปุวยลุกจากเตียงได้ (Open/unoccupied bed)
การท าเตียงผู้ปุวยลุกจากเตียงไม่ได้ (Occupied bed)
การท าเตียงว่าง (Close bed)
การท าเตียงรับผู้ปุวยหลังผ่าตัดและผู้ปุวยที่ได้รับยาสลบ
หลักปฏิบัติการท าเตียง
เตรียมของพร้อมใช้ตามล าดับก่อนหลังและวางให้ง่ายในการหยิบใช้สะดวก
จัดบริเวณรอบ ให้สะดวกต่อการปฏิบัติ
วางผ้าให้จุดกึ่งกลางของผ้าทับลงตรงจุดกึ่งกลางของที่นอน ควรท าเตียงให้เสร็จทีละข้าง โดยเริ่มจากผ้าปูที่นอน ผ้ายางขวางเตียง ผ้าขวางเตียง ใส่ปลอกหมอน
คลุมผ้าคลุมเตียง วางผ้าห่มและและผ้าเช็ดตัวที่ราวพนักหัวเตียง จัดโต๊ะข้างเตียงให้เรียบร้อย
ไม่ควรสะบัดผ้าหรือปล่อยให้เสื้อผ้าที่สวมอยู่สัมผัสกับเครื่องใช้ของผู้ปุวย
หากมีปูเตียงที่มีผู้ปุวยควรแจ้งให้ผู้ปุวยทราบก่อนการปฏิบัต
หันหน้าไปทิศทางในงานที่จะท า ไม่ควรบิดหรือเอี้ยวตัว
รักษาท่าทางให้อยู่ในลักษณะที่ดี
ึดหลักการท าเตียงให้เรียบ ตึง ไม่มีรอยย่น สะอาด ไม่เปียกชื้
ความหมายของการพักผ่อนและการนอนหลับ
การพักผ่อน
ผ่อนคลายและมีความสงบทั้งจิตใจและร่างกายรวมถึงความไม่วิตกกังวล สงบหรือผ่อนคลายโดยไม่มีความเครียดทางอารมณ์
การพักผ่อนของผู้ปุวยในโรงพยาบาล
Bed rest
เป็นการพักผ่อนโดยให้ผู้ปุวยนอนอยู่บนเตียง สามารถท ากิจกรรมประจ าวันได้ตามความสามารถของผู้ปุวย เช่น ไปห้องน้ าด้วยตนเอง
Absolute bed rest
การพักผ่อนโดยให้ผู้ปุวยนอนอยู่บนเตียง ไม่ให้ร่างกายออกแรงในกิจกรรมใด ที่จะท าให้รู้สึกเหนื่อย ห้ามลุกออกจากเตียง
กระบวนการพยาบาลในการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลและการส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับ
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
วัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ปุวยได้พักผ่อนได้เพียงพอกับความต้องการของร่างกายและปลอดภัย
เกณฑ์การประเมินผล
คุณภาพการนอนหลับเชิงปริมาณไม่ต่ ากว่า ร้อยละ 80
คุณภาพการนอนหลับเชิงคุณภาพ ผู้ปุวยนอนหลับสนิทได้มากขึ้น
การวางแผนวางแผนให้ผู้ปุวยได้นอนหลับพักผ่อนเพียงพอกับความต้องการของร่างกายและปลอดภัย
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ประเมินคุณภาพการนอนหลับทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ
จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบ แสงสว่างเพียงพอ ขจัดสิ่งรบกวน
จัดกิจกรรมการพยาบาลเป็นช่วง ไม่รบกวนการนอนของผู้ปุวย
แจ้งให้ผู้ปุวยทราบเรื่องแขกผู้มาเยี่ยม เพื่อขอความร่วมมือ
ประเมินสาเหตุและแบบแผนการนอนตามปกติ(แบบแผนที่ 5)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)พักผ่อนไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกายเนื่องจากมีความวิตกกังวล
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation) ต้องมีความสอดคล้องกับเกณฑ์การประเมินผลข้างต้น
ผลการประเมินคุณภาพการนอนหลับเชิงปริมาณไม่ต่ ากว่า ร้อยละ 80
ผลการประเมินคุณภาพการนอนหลับเชิงคุณภาพ ผู้ปุวยนอนหลับสนิทได้มากขึ้น
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
ความส าคัญของการพักผ่อนและการนอนหลับ
สงวนพลังงานพลังงานที่ใช้ของร่างกายและสมองจะลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงตื่น
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และความจ า
. ซ่อมแซมและสร้างเนื้อเยื่อขึ้นใหม่ช่วยส่งเสริมการหายของแผลรวมถึงมีการช่วยสะสมพลังงานไว้ใช้ในวันต่อไ
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
ส่งเสริมการเจริญเติบโตซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
ผลกระทบจากปัญหาการนอนหลับ
ผลกระทบต่อร่างกาย
เมื่อยล้าคลื่นไส้อาเจียนท้องผูกปวดศีรษะวิงเวียนเหมือนบ้านหมุน(vertigo) ความทนต่อความเจ็บปวดลดลงกล้ามเนื้อคออ่อนแรงความคิดและการรับรู้บกพร่องเหนื่อยล้าเฉื่อยชาการพูดเสียไปตัดสินใจได้ช้าและรู้สึกว่าตนเองมีการตอบสนองต่อการกระตุ้นจากสิ่งเร้าได้ง่ายความทนต่อความเจ็บปวดลดลงการหายของแผลหลังผ่าตัดเป็นไปอย่างล่าช้า
ผลกระทบต่อจิตใจและอารมณ์ท
ซึมและหงุดหงิดโมโหง่ายเกิดความสับสนและความสามารถในการควบคุมตนเองจาก สิ่งเร้าลดลงมีอาการหวาดระแวงและหูแว่วไม่สามารถยับยั้งพฤติกรรมความก้าวร้าวของตนเองได้
ผลกระทบต่อสติปัญญาและการรับรู้
ท าให้การปฏิบัติกิจกรรมในช่วงกลางวันลดลงสมาธิไม่ดีและแก้ไขปัญหาได้ช้า
ผลกระทบทางสังคม
การมีปฏิสัมพันธ์ในครอบครัวและสังคมลดลงความมั่นใจในการท างานลดลงและมีการใช้ระบบบริการทางด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น