Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาอิสลาม - Coggle Diagram
การดำเนินชีวิตและการดูแลสุขภาพตามความเชื่อของศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามมีต้นกำเนิดที่ประเทศซาอุดิอาราเบีย
ศาสนสถานของชาวมุสลิมคือ มัสยิด หรือ สุเหร่า (แปลว่าสถานที่กราบ) เป็นที่ปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนา เป็นโรงเรียนเป็นที่พบปะชุมนุมทำบุญเลี้ยงฉลองจัดพิธีมงคลสมรสสถานที่พักพิงของผู้ไร้ที่พานัก
“อิสลาม” แปลว่า การยอมจำนน การปฏิบัติตาม และการนอบน้อม (ต่อพระเจ้าคือ พระอัลลอฮ์)
มีผู้นับถือมากเป็นอับสอง...รองจาก ศาสนาคริสต์
ศาสดาของศาสนาอิสลามคือนบีมูฮัมหมัด
พระคัมภีร์ของศาสนาอิสลาม คือ อัลกุรอาน
ผู้นับถือศาสนาอิสลามคือมุสลิมเป็นภาษาอาหรับแปลว่าผู้ที่นอบน้อมยอมจานนนต่อข้อบัญญัติพระอัลลอฮ์
สัญลักษณ์ของศาสนาอิสลามรูปพระจันทร์ครึ่งเสี้ยวและดาวอยู่ข้างบน
ดาวคือเครื่องหมายนาทางบอกทิศเมื่อมนุษย์ต้องเดินทางกลางทะเล หรือทะเลทราย ชาวอาหรับสมัยก่อนเดินทางตอนกลางคืนเพราะกลางวันอากาศกลางทะเลทรายจะร้อนมาก ดาวคือเครื่องหมายบอกทิศทางในการเดินทาง
เดือนครึ่งเสี้ยวคือเครื่องหมายของกาลเวลาเดือนส่งผลถึงระดับน้าขึ้นลงที่แตกต่างกันเดือนคือการกำหนดเวลาเริ่มต้นของเดือนใหม่และสิ้นสุดเดือนเก่าเดือนคือเวลาที่ผ่านไปที่มนุษย์ต้องใคร่ครวญถึงการกระทำของตนเอง สัญลักษณ์รูปเดือนครึ่งเสี้ยวสำคัญที่สุดจะเป็นศิริมงคลที่สุดของมุสลิมคือในเดือนรอมฎอน ที่ต้องอาศัยการดูดวงจันทร์เพื่อเข้าสู่เดือนแห่งการถือศีล-อด
สองสิ่งนี้เป็นสิ่งเตือนใจและเป็นสิ่งสำคัญในการใช้ชีวิตของมนุษย์ชาติมุสลิมจึงให้ความสำคัญและนานมาเป็นสัญลักษ์ของอิสลาม
คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย
เป็นคณะผู้บริหารกิจการศาสนาอิสลามในประเทศไทย
ใช้อำนาจตามพระราชบัญญัติการบริหารองค์กรศาสนาอิสลาม พ.ศ. 2540ซึ่งระบุให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่าคณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย
ประกอบด้วยจุฬาราชมนตรีเป็นประธานกรรมการ และกรรมการ
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯแต่งตั้งจากกรรมการอิสลามประจำจังหวัดซึ่งเป็นผู้แทนคณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัดจังหวัดละหนึ่งคนและจากกรรมการอื่นซึ่งคัดเลือกโดยจุฬาราชมนตรีมีจำนวนหนึ่งในสามของจานวนผู้แทนคณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัด มีวาระการดำรงตำแหน่ง 6ปี
นิกายซุนนี(Sunni) มีผู้นับถือ75-90%
ซุนนี แปลว่า มรรคา หรือจารีต เป็นนิกายของศาสนาอิสลามที่นับถือคัมภีร์เล่มหนึ่งชื่อ”ซุมนาเป็นคัมภีร์อรรถกถาของคัมภีร์อัลกุรอานผู้นับถือคัมภีร์นี้เป็นผู้ที่เคร่งครัด ต้องการให้คัมภีร์เดิมอ่านง่ายและเข้าใจง่ายขึ้นจึงได้แต่งอรรถกถาอธิบายความในคัมภีร์เดิม
เป็นพวกออร์ธอดอกซ์ของอิสลาม และไม่ชอบให้ใครมาเปลี่ยนแปลงคำสอนที่มีอยู่เดิมในคัมภีร์เพราะป้องกันการคลาดเคลื่อนในหลักคำสอนแท้จริง
พวกซุนนีถือว่าภายหลังจากที่นบีมุฮัมมัดเสียชีวิตแล้ว และได้มีกาหลิบที่สืบต่อมาอีกเพียง4 คนเท่านั้นต่อจากนั้นก็ไม่มีกาหลิบสืบต่อมีแต่ผู้นับถือศาสนาอิสลามธรรมดา
นิกายนี้ใช้หมวกสีขาวเป็นสัญลักษณ์และเป็นนิกายที่มีผู้นับถือมากที่สุดประมาณ700 ล้านคน ถือว่าเป็นนิกายดั้งเดิม
ส่วนมากมีอยู่ในประเทศสาธารณรัฐตุรกีซาอุดิอาระเบียแอฟริกา และชาวมุสลิมส่วนใหญ่ในอินโดนีเซีย มาเลเซีย และประเทศไทย
นิกายชีอะฮ์หรือชิเอฮ์(Shiah) มีผู้นับถือ10-20%
ชีอะฮ์หรือชิเอฮ์แปลว่าผู้ปฏิบัติตามหรือสาวก
แยกออกมาจากนิกายซุนนี พวกชีอะฮ์ถือว่าต่อจากกาหลิบอะลีมาแล้วเชื้อสายของอาลีควรจะไรด้รับการแต่งตั้งหรือทาการเลือกตั้งให้เป็นหัวหน้าทางศาสนาออกมาอีก
เชื่อกันว่าอิหม่าม หมายถึง หัวหน้าสุเหร่าหรือมัสยิด ซึ่งเป็นผู้สืบต่อศาสนาจากนบีมุฮัมมัด
อิหม่ามเป็นผู้หมดมลทินจากบาปและเป็นสื่อกลางการติดต่อระหว่างมนุษย์กับพระเจ้าเป็นผู้แปลถ้อยคำของพระเจ้าที่ปรากฏในคัมภีร์อัลกุรอา
นิกายชีอะฮ์มีผู้นับถือมากที่สุดในประเทศอิหร่าน อิรัก อินเดีย อัฟกานิสถาน และซีเรีย
หลักการอันเป็นข้อบังคับสาหรับมุสลิมทุกคนจะต้องรู้จะต้องประพฤติ เริ่มตั้งแต่อายุ3ขวบเป็นต้นไป
1.หลักศรัทธาความเชื่อในศาสนา
2.หลักปฏิบัติหน้าที่ในศาสนา(อิบาดะห์)
3.หลักคุณธรรม (อิห์ซาน)
4.ทุกคนต้องเรียนรู้หลักการของศาสนาอิสลามไม่มีขอยกเว้นเป็นหน้าที่พึงปฏิบัติ
หลักศรัทธาของศาสนาอิสลาม
1.ศรัทธาในพระเจ้าเป็นฐาน ต้องเชื่อมั่นและศรัทธาในพระเจ้า คือ พระอัลลอฮ์ อย่างไม่มีข้อสงสัย พระเจ้าทรงเป็นผู้อยู่ก่อนสรรพสิ่งทั้งปวงทรงเป็นผู้สร้างทุกสิ่งในเอกภพพระเจ้าสร้างอดัม(อิสลามเรียกท่านนบีอาดัม)
ศรัทธาในมลาอิกะฮ์ คือบ่าวผู้สัตย์ซื่อของพระอัลลอฮ์ไม่มีรูปกายไม่มีเพศ ไม่มีการดาเนินชีวิตเหมือนมนุษย์เป็นสื่อกลางระหว่างพระอัลลอฮ์กับมนุษย์
ศรัทธาในบรรดาศาสนทูตหรือศาสดาซึ่งมี 258 ท่านที่ระบุไว้ในพระคัมภีร์อัลกุรอาน
ศรัทธาในพระคัมภีร์อัลกุรอานและมีคัมภีร์อื่นๆเช่นนบีดาวูด(ดาวิด) นบีมูซา(โมเสส) นบีอีซา (เยซู)
ศรัทธาในวันกียามะฮ์หรือ วันปรโลก วันคืนชีพ หลังจากวันสิ้นโลก มนุษย์ทุกคนรอวันตัดสินชำระความ
ศรัทธาในการลิขิตขององค์พระผู้เป็นเจ้า
หลักปฏิบัติหน้าที่ในศาสนา เรียกว่า อิบาดะห์
1.การปฏิญาณตนเข้ารับนับถือศาสนาอิสลาม
4.การบริจาคศาสนทานซะกาต
5.การประกอบพิธีฮัจญ์
2.การละหมาด หรือ สวด (นมาซ หรือ นมัสการ) 5เวลาต่อวัน
3.การถือศีลอด
การละหมาด หรือ สวด (นมาซ หรือ นมัสการ)
1) เวลาย่ำรุ่ง
2) เวลากลางวัน
4) เวลาพลบค่ำ
3) เวลาเย็น
5) เวลากลางคืน
การถือศีลอด
เป็นการฝึกฝนให้ตัวเองมีจิตผูกพันและยำเกรงต่อพระเจ้าเพื่อการดำเนินชีวิตในทุกด้านตามคำบัญชาของพระองค์
เป็นการอดอาหารในช่วงเวลาที่ถูกกำหนดไว้อย่างตายตัวนั้นจะทาให้ร่างกายไรด้ละลายส่วนเกินของไขมันที่สะสมเอาไว้
เป็นการเพิ่มพูนภูมิต้านทานแก่ร่างกายทำให้ร่างกายเคยชินกับความหิว และการรับประทานอาหารตรงตามเวลาใน 24 ชั่วโมง
ผู้ถือศีลอดจะรับประทานอาหารสองมื้อคือมื้อตอนดึกถึงก่อนฟ้ารุ่งสาง และมื้อค่าตอนเมื่ออาทิตย์ลับขอบฟ้า
การถือศีลอดทำให้เกิดการประหยัดทั้งอาหารของโลกและสิ่งฟุ่มเฟือยสิ่งต่างๆ
ความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพโดยทั่วไป
ห้ามทำแท้งการทำแท้งจะทำได้ในกรณีจำเป็นที่ต้องรักษาชีวิตของแม่
การขลิบอวัยวะเพศชายเป็นเรื่องที่แนะนำให้ปฏิบัติ
การช่วยให้ฆ่าตัวตายหรือการุนฆาตเป็นเรื่องต้องห้าม
การช่วยผู้ป่วยระยะสุดท้ายในการใส่เครื่องช่วยหายใจโดยผู้ป่วยมีภาวะเป็นผักเป็นเรื่องที่ไม่สนับสนุนให้ทำ
การผ่าศพชันสูตรเป็นสิ่งที่ต้องห้าม....ยกเว้นเป็นข้อบังคับทางกฎหมาย
หลังคลอดจะมีการขอรกเอาไรปฝังต้องแจ้งให้ทราบ หากมีข้อจำกัดไรม่สามารถให้นำรกไปได้
การให้บริการทางการแพทย์และพยาบาล
จำกัดการสบตาไม่จ้องผู้ป่วยมากเกินไป
ผู้หญิงมุสลิมจะใส่เสื้อผ้าที่มีการปกคลุมร่างกายหากต้องการตรวจควรมีเสื้อคลุมที่ยาวสามารถปกผิดร่างกายได้ทั่ว หากไม่สามารถจัดหาให้ได้ควรจะอนุญาตให้ใส่เสื้อผ้าของตนเองได้
มุสลิมไม่ได้ห้ามการไรด้รับบริการสุขภาพจากเพศตรงข้าม
ผู้ให้บริการควรเป็นเพศเดียวกับผู้ป่วย
ถ้ามีความจำเป็นต้องให้บริการจากผู้รักษาเพศตรงข้าม เช่น แพทย์เป็นผู้ชายควรให้สามีของผู้ป่วยเข้าไปด้วยหรือเป็นผู้หญิงที่ผู้ป่วยอนุญาตให้เข้าไปได้
การดูแลเรื่องอาหาร
การดูแลอาหารเป็นอาหาร ฮาลาลไม่มีหมูไม่มีแอลกอฮอล์
การอดอาหารจะทำปีละครั้งช่วงเดือนรอมฎอนยกเว้นผู้ป่วยและหญิงตั้งครรภ์
มุสลิมจะล้างมือก่อนและหลังรับประทานอาหารควรมีการเตรียมสถานที่
มุสลิมจะใช้มือขวาในการจับอาหารและเครื่องดื่มในการประทานหากผู้ดูแลสัมผัสอาหารควรใช้มือขวา
การดูแลทางจิตวิญญาณ
จัดสถานที่ละหมาด
มีสถานที่ล้างเท้าก่อนทำพิธีหรือจัดทาอ่างน้ำสำหรับอาบเพื่อทำการสวดทางศาสนา
การสวดมนต์จะทำวันละ5ครั้ง
ผู้มีข้อจำกัดด้านสติปัญญาผู้หญิงหลังคลอดและผู้หญิงที่มีประจำเดือนจะเป็นข้อยกเว้น การสวดมนต์จะหันหน้าไปทางเมืองเมกกะ
ควรเอาสิ่งที่เป็นสัญลักษณ์ทางศาสนาอื่นออกจากห้องผู้ป่วย
การดูแลผู้ป่วยระสุดท้าย
การดูแลผู้ป่วยระสุดท้าย
ยอมรับเรื่องการมีชีวิตและการตายตามบริบทของศาสนาและวัฒนธรรม
บูรณาการมิติทางสังคมจิตใจและจิตวิญญาณ
ให้การสนับสนุนและช่วยเหลือญาติ
มีการทางานเป็นทีมเพื่อการดูแลผู้ป่วยและญาติอย่างมีคุณภาพ